You are on page 1of 7

แนวโน้มธุรกิจ/อุตสาหกรรม ปี 2561-63

อุตสาหกรรมเครื่องใช้ไฟฟ้า
กันยายน 2561
วรรณา ยงพิศาลภพ
wanna.yongpisanphob@krungsri.com
+662 296 4755

 วิจัยกรุงศรีคาดว่าปริมาณความต้องการเครื่องใช้ไฟฟ้าในประเทศในปี 2561 มีแนวโน้มลดลง เนื่องจากผู้บริโภคระมัดระวังการใช้จ่าย ประกอบกับตลาด


เครื่องปรับอากาศและคอมเพรสเซอร์ซึ่งเป็นเซ็กเมนต์หลักยังคงหดตัวจากผลกระทบปรากฎการณ์ La Nina ทาให้อุณหภูมิลดลง (ตลาดฟื้นตัวกว่าคาด) ส่วน
ในปี 2562-2563 คาดว่าความต้องการเครื่องใช้ไฟฟ้าจะกลับมาขยายตัว อานิสงส์จาก 1) ภาวะเศรษฐกิจฟื้นตัวและกาลังซื้อภาคครัวเรือนปรับดีขึ้นหลังจาก
ภาระหนี้โครงการรถคันแรกทยอยครบกาหนด 2) ตลาดอสังหาริมทรัพย์ทยอยฟื้นตัวเอื้อต่อความต้องการเครื่องใช้ไฟฟ้าในครัวเรือน 3) คาดว่าจะมีความ
ต้องการเปลี่ยนเครื่องใช้ไฟฟ้าใหม่ตามรอบระยะเวลาการถือครองและเปลี่ยนเครื่องใหม่ (Replacement cycle) และ 4) สภาพอากาศที่คาดว่าจะร้อนขึ้นหนุน
ให้มีความต้องการเครื่องปรับอากาศ
 มูลค่าส่งออกเครื่องใช้ไฟฟ้าในปี 2561-2563 จะเติบโตต่อเนื่องตามภาวะเศรษฐกิจประเทศคู่ค้าสาคัญ (อาเซียน สหรัฐฯ และญี่ปุ่น) ปัจจัยสนับสนุนสาคัญ
จากการที่ไทยเป็นประเทศผู้ส่งออกเครื่องใช้ไฟฟ้าประเภททาความเย็นที่สาคัญของโลก และบริษัทข้ามชาติรายใหญ่ยังมีแผนขยายการลงทุนในไทยต่อเนื่อง
เพื่อเป็นฐานการผลิตและส่งออก

 ข้อมูลพื้นฐาน
อุตสาหกรรมการผลิตเครื่องใช้ไฟฟ้าในประเทศไทยมีพัฒนาการมากว่า 50 Figure 1: Electrical Appliance Producers
ปี โดยรัฐบาลมีนโยบายส่งเสริมการลงทุนผ่านการให้สิทธิประโยชน์ด้านการ Large-scale
ลงทุนต่างๆ ของ BOI ซึ่งในระยะแรกของการลงทุน ช่วงปี 2503-2514 ภาครัฐ enterprises
14%
ส่งเสริมการลงทุนผลิตเครื่องใช้ไฟฟ้าเพื่อทดแทนการนาเข้า โดยเป็นการนาเข้า Medium-scale
ชิ้นส่วนฯ มาประกอบและส่วนใหญ่เป็นการผลิตเครื่องใช้ไฟฟ้าที่มีเทคโนโลยีการผลิต enterprises 18%

ไม่ซับซ้อน เช่น วิทยุ โทรทัศน์ พัดลม เป็นต้น ต่อมาช่วงปี 2515-2535 ทางการไทยมี


นโยบายสนั บ สนุ น การผลิ ต เครื่ อ งใช้ ไ ฟฟ้ า เพื่ อ ส่ ง ออก กอปรกั บ ในปี 2530 Small-scale enterprises 68%
เหตุการณ์ Plaza Accord1/ มีผลให้เงินเยนแข็งค่า บริษัทญี่ปุ่นจึงย้ายฐานการผลิต
ออกนอกประเทศ ซึ่งไทยเป็นหนึ่งในฐานการผลิตที่สาคัญในช่วงเวลานั้น นอกจากนี้
Source: E&E Intelligence Unit, as of Jul 2016
ต้นทุนการผลิตของไทยที่อยู่ในระดับต่า ความได้เปรียบจากการเป็นศูนย์กลางของ
ภูมิภาคอาเซียน และศักยภาพการเติบโตของตลาดภูมิภาคอาเซียนหลังมีการจัดตั้งเขต
Figure 2: Thai Electrical Appliance Markets
การค้าเสรีอาเซียน (ASEAN Free Trade Area: AFTA) เมื่อปี 2547 ยังทาให้มีบริษัท
ข้ามชาติ (โดยเฉพาะสัญชาติญี่ปุ่น ) เข้ามาตั้งฐานผลิตในไทยเพิ่มขึ้นเป็นลาดับ ทั้ง
บริ ษั ท ผลิ ต เครื่ อ งใช้ ไ ฟฟ้ า ชิ้ น ส่ ว นและส่ ว นประกอบเครื่ อ งใช้ ไ ฟฟ้ า (อาทิ Domestic
Market
คอมเพรสเซอร์ มอเตอร์ ไดโอด หลอดภาพโทรทั ศน์ ลาโพง เป็น ต้น ) และชิ้น ส่วน 25-35%
อิเล็กทรอนิกส์ที่เป็นส่วนประกอบของเครื่องใช้ไฟฟ้า (อาทิ แผ่นวงจรพิมพ์ (Printed
Exports
Circuit Board: PCB) แผงวงจรไฟฟ้า (Integrated Circuits: IC) ตัวเก็บประจุไฟฟ้า 65-75%
(Capacitor) เป็นต้น) จึงเกิดการพัฒนาห่วงโซ่อุปทานการผลิตเครื่องใช้ไฟฟ้าของไทย
จนถึงปัจจุบัน
Source: OIE, compiled by Krungsri Research
ในปี 2559 อุตสาหกรรมเครื่องใช้ ไฟฟ้าในไทยมีจานวนผู้ผลิ ตประมาณ
400 ราย (ภาพที่ 1) แบ่งออกเป็น 1) ผู้ผลิตเครื่องใช้ไฟฟ้ารายใหญ่ซึ่งมีความพร้อม
Figure 3: Export Value Share by Product (2017)
ด้านเทคโนโลยีและเงินทุน (สัดส่วน 14% ของจานวนผู้ผลิตทั้งหมด) แบ่งเป็น 2 กลุ่ม
ย่อย คือ กลุ่มบริษัทข้ามชาติที่ผลิตเครื่องใช้ไฟฟ้าแบรนด์ชั้นนาของโลก อาทิ มิตซูบิชิ Video recording Televisions and
โซนี่ แอลจี ซัมซุง โตชิบา เป็นต้น และกลุ่มผู้ผลิตสัญชาติไทยซึ่ง มีทั้งผู้รับจ้างผลิต 2.2% radios 12.2%

เครื่องใช้ไฟฟ้าแบรนด์อื่น (Original Equipment Manufacturer: OEM) และผู้ผลิตที่มี Refrigerators


8.2%
การพัฒนาแบรนด์ของตนเอง (ตัวอย่างเครื่องปรับอากาศแบรนด์ไทย เช่น ทาซากิ
ซัยโจ-เดนกิ ยูนิแอร์ เซ็นทรัลแอร์ เป็นต้น พัดลมแบรนด์ไทย เช่น ฮาตาริ แอคคอร์ด Others, Air-conditioners
20.5%
มาสเตอร์คูล เป็นต้น ) และ 2) ผู้ผลิตชิ้นส่วนและส่วนประกอบเครื่องใช้ไฟฟ้าส่งต่อ 46.2%

ให้กับผู้ผลิตรายใหญ่ (สัดส่วน 86%) ส่วนใหญ่เป็นผู้ประกอบการ SME ซึ่งมีข้อจากัด Washing


ด้านการพัฒนาเทคโนโลยีของตนเอง และมีอานาจต่อรองค่อนข้างต่า machines 6.8%
Compressors
3.9%
1/ ข้อตกลง Plaza Accord เกิดขึ้นเมื่อปี 2528 ซึ่งเป็นผลจากทั่วโลกได้รับผลกระทบจากนโยบายเศรษฐกิจผ่อนปรนของรัฐบาล Source: MOC
ญี่ปุ่นหนุนให้เงินเยนอ่อนค่า ทาให้ญี่ปุ่นส่งออกได้มากและเกินดุลการค้าทั่วโลก ประเทศสมาชิกกลุ่ม G5 อื่น ประกอบด้วย
สหรัฐฯ อังกฤษ เยอรมนี และฝรั่งเศส จึงกดดันให้ญี่ปุ่นปรับค่าเงินเยนให้แข็งขึ้น ส่งผลให้เศรษฐกิจญี่ปุ่นเกิดภาวะฟองสบู่ และ
ต้นทุนการผลิตสูงขึ้นจนบริษัทสัญชาติญี่ปุ่นต้องย้ายฐานการผลิตออกนอกประเทศ เพื่อลดต้นทุนการผลิตและรักษาความ
ได้เปรียบในการแข่งขัน Krungsri Research 1
แนวโน้มธุรกิจ/อุตสาหกรรม ปี 2561-63 อุตสาหกรรมเครื่องใช้ไฟฟ้า

จากข้อมูลของสานักงานเศรษฐกิจอุตสาหกรรม พบว่า การผลิตเครื่องใช้ไฟฟ้า Table 1: Thai Electrical Appliance Exports World Rankings
ของไทยส่งออกไปจาหน่ายต่างประเทศคิดเป็นสัดส่วน 65-75% ของปริมาณการ Air conditioners
ผลิตเครื่องใช้ไฟฟ้าทั้งหมด (ภาพที่ 2) มีตลาดส่งออกสาคัญ คือ อาเซียน (สัดส่วน Export value % share of
(USD) world exports Ranking
21.7% ของมูลค่าส่งออกเครื่องใช้ไฟฟ้าทุกประเภทของไทยในปี 2560) สหรัฐฯ (15.6%)
2015 4,524,346 11.4 2
ญี่ปุ่น (13.2%) สหภาพยุโรป (12.0%) โดยเป็นการส่งออกเครื่องปรับอากาศสัดส่วน
2016 4,842,745 11.7 2
20.5% ของมูลค่าส่งออกเครื่องใช้ไฟฟ้าทั้งหมด โทรทัศน์และวิทยุ 12.2% ตู้เย็น 8.2%
2017 4,815,299 11.0 2
เครื่องซักผ้า 6.8% คอมเพรสเซอร์ 3.9% วีดีโอ 2.2% และเครื่องใช้ไฟฟ้าอื่น 46.2%
Compressors
(ภาพที่ 3-4) Export value % share of
(USD) world exports Ranking
อย่ า งไรก็ ต าม การพั ฒ นาห่ ว งโซ่ อุ ป ทานในอุ ต สาหกรรมการผลิ ต 2015 1,005,114 7.5 4
เครื่ องใช้ไฟฟ้ าในไทยตลอดระยะเวลาที่ ผ่านมามีร ะดั บความก้าวหน้ าไม่เท่ า 2016 954,277 7.1 4
เทียมกัน มีผลให้อุตสาหกรรมเครื่องใช้ไฟฟ้าแต่ละประเภทของไทยมีภาวะการ 2017 909,422 6.6 6
ผลิ ต และสถานะในตลาดโลกแตกต่ า งกั น (ตารางที่ 1) โดยกลุ่ ม อุ ต สาหกรรม Washing machines
เครื่องใช้ไฟฟ้าประเภทเครื่องทาความเย็น (Cooling) โดยเฉพาะเครื่องปรับอากาศ Export value % share of
(USD) world exports Ranking
และคอมเพรสเซอร์ มีการพัฒนาการผลิตค่อนข้างสมบูรณ์ตลอดทั้งห่วงโซ่อุปทาน ทาให้ 2015 967,797 7.2 4
การใช้ชิ้นส่วนฯ หรือส่วนประกอบที่ผลิตในประเทศในการผลิตสินค้าขั้นปลายมีสัดส่วน 2016 1,059,144 7.9 4
สู ง กว่ า 80% ของมู ล ค่ า ชิ้ น ส่ ว นทั้ ง หมด อุ ต สาหกรรมการผลิ ต เครื่ อ งใช้ ไ ฟฟ้ า กลุ่ ม 2017 1,515,528 10.7 2
Cooling ของไทยจึงเติบโตต่อเนื่องและไทยมีสถานะเป็นผู้ส่งออกอันดับต้นๆ ของโลกใน Refrigerators
เชิงมูลค่า โดยในปี 2560 ไทยเป็นผู้ส่งออกเครื่องปรับอากาศอันดับ 2 ของโลก (มีส่วน Export value
(USD)
% share of
world exports Ranking
แบ่งในตลาดโลก 11.0%) และเป็นผู้ส่งออกคอมเพรสเซอร์อันดับ 6 ของโลก (ส่วนแบ่ง 2015 1,815,980 4.5 7
ตลาดโลก 6.6%)2/ นอกจากนี้ ไทยยังเป็นฐานการผลิตและส่งออกกลุ่มเครื่องใช้ไฟฟ้า 2016 1,872,057 4.7 7
ในครัวเรือน (White goods) ที่สาคัญของโลก อาทิ เครื่องซักผ้า (ในปี 2560 ไทยเป็นผู้ 2017 1,931,305 4.5 7
ส่ง ออกอั นดั บ 2 ของโลก มีส่ ว นแบ่ ง ตลาดโลก 10.7%) ตู้เ ย็ น (อั น ดั บ 7 มี ส่ วนแบ่ ง Rice cookers
ตลาดโลก 4.5%) หม้อหุง ข้าว (อันดับ 8 มีส่วนแบ่งตลาดโลก 3.1%) และไมโครเวฟ Export value
(USD)
% share of
world exports Ranking
(อันดับ 3 มีส่วนแบ่งตลาดโลกอยู่ที่ 5.2%) เป็นต้น 2015 353,683 3.5 8
2016 378,142 3.7 7
จากการศึ ก ษาต าแหน่ ง การแข่ ง ขั น ในตลาดโลกของอุ ต สาหกรรม
2017 347,812 3.1 8
เครื่องใช้ไฟฟ้าของไทยในช่วงปี 2553-2560 พบว่าประเภทเครื่องใช้ไฟฟ้าที่ไทย
มีส่วนแบ่งตลาดเพิ่มขึ้นในทิศทางเดียวกับการเติบโตของตลาดโลก (Winners in Microwave ovens
Export value % share of
growing markets) คือ เครื่องปรับอากาศ คอมเพรสเซอร์ ตู้เย็น เครื่องซักผ้า และ (USD) world exports Ranking
หม้ อ หุ ง ข้ า ว ส่ ว นเครื่ อ งใช้ ไ ฟฟ้ า ที่ ไ ทยมี ส่ ว นแบ่ ง ตลาดลดลงสวนทางกั บ 2015 218,593 5.6 3
2016 209,367 5.4 3
ตลาดโลกที่กาลังเติบโต (Losers in growing markets) คือ ไมโครเวฟ และพัดลม
2017 212,287 5.2 3
(ภาพที่ 5) Source: Trade Map

Figure 4: Export Market Share (2017) Figure 5: Business Position of Thai Electrical Appliances by Product

Others ASEAN
30.9% 21.7%

USA
China 15.6%
6.6%

EU Japan
12.0% 13.2%

Source: MOC

2/ ส่วนแบ่งตลาดโลกในกลุ่มเครื่องทาความเย็นโดยเฉพาะคอมเพรสเซอร์ของไทยในปี 2560 ลดลง เนื่องจากเยอรมนี และ Source: Trade Map, compiled by Krungsri Research
เกาหลีใต้ ซึ่งเป็นผู้ส่งออกคอมเพรสเซอร์ที่มีส่วนแบ่งตลาดใกล้เคียงกับไทยที่ระดับ 6-8% มีการขยายกาลังการผลิตใน
ประเทศและสามารถส่งออกได้เพิ่มขึ้น อย่างไรก็ตาม ยังคงมีการลงทุนขยายกาลังผลิตคอมเพรสเซอร์ในไทย อาทิ บจก.
สยามไดกิ้น บจก.อีเมอร์สัน คอมเมอร์เชียล แอนด์ เรซิเดนเชียลโซลูชั่น (ประเทศไทย) เป็นต้น โดยจะเริ่มผลิตและส่งออก
ได้ในระยะ 1-2 ปีข้างหน้า อาจส่งผลให้ส่วนแบ่งตลาดของไทยในตลาดโลกปรับเพิ่มขึ้นได้ Krungsri Research 2
แนวโน้มธุรกิจ/อุตสาหกรรม ปี 2561-63 อุตสาหกรรมเครื่องใช้ไฟฟ้า

สาหรับอุตสาหกรรมเครื่องใช้ไฟฟ้าประเภทภาพและเสียงของไทย Figure 6: Manufacturing Production Index (MPI)


(Audio Visual: AV) โดยเฉพาะโทรทัศน์มีปริมาณการผลิตลดลงต่อเนื่องตั้งแต่
ปี 2555 เนื่องจากโทรทัศน์นาเข้าจากจีนเข้ามาแข่งขันเพิ่มขึ้น และตั้งแต่ปี 2558 2011=100

ผู้ผลิตโทรทัศน์รายใหญ่ในไทย อาทิ LG, Sumsung, Toshiba ย้ายฐานการผลิต 130


ตามนโยบายของบริษัทแม่ไปยังประเทศอื่นๆ ในอาเซียน อาทิ เวียดนาม และ 120
มาเลเซีย ประกอบกับเทคโนโลยีจอโทรทัศน์เปลี่ยนแปลงไปอย่างรวดเร็ว3/ ทาให้ 110
ผู้ประกอบการไทยบางรายไม่สามารถพัฒนาการผลิตไปสู่เทคโนโลยีใหม่ได้ทัน 100
อย่างไรก็ตาม ผู้ประกอบการไทยรายใหญ่ บางรายสามารถพั ฒ นาการผลิต 90
โทรทัศน์เทคโนโลยีใหม่ LED TV ที่มีความละเอียดสูงโดยมีการผลิตตั้งแต่
80
หลอดภาพไปจนถึงการประกอบโทรทัศน์4/ ขณะที่ผู้ประกอบการต่างชาติที่ยังใช้

2011

2012

2013

2014

2015

2016

2017
ไทยเป็นฐานในการประกอบโทรทัศน์เพื่อจาหน่ายในประเทศและส่งออกมัก
นาเข้าหลอดภาพซึ่งเป็นวัตถุดิบหลักจากบริษัทแม่ Source: OIE

ส าหรั บ ตลาดเครื่ อ งใช้ ไ ฟฟ้ า ในประเทศ (สั ด ส่ ว น 25-35% ของ


ปริมาณการผลิตเครื่องใช้ไฟฟ้าทั้งหมดในไทย) ประเภทเครื่องใช้ไฟฟ้าที่
ภาคครัวเรือนไทยมีอัตราการถือครองสูงกว่า 30% ของจานวนครัวเรือนทั้งหมด Figure 7: Thai Electrical Appliance Production by Product
อาทิ ตู้เย็น เครื่องปรับอากาศ เครื่องซักผ้า พัดลม โทรทัศน์ และเตารีด เป็นต้น
million units
จากการส ารวจตลาดเครื่ อ งใช้ ไ ฟฟ้ า ในไทยโดย Euromonitor
50
(ธันวาคม 2559) ระบุว่าการจาหน่ายเครื่องใช้ไฟฟ้าที่มีมูลค่าตลาดสูง (อาทิ
40
เครื่องปรับอากาศและเครื่องฟอกอากาศ) มีสัดส่วนสูงสุดที่ 40% ของมูลค่า
ตลาดรวม รองลงมา คือ ตู้แช่และตู้เย็น (สัดส่วน 17%) เครื่องซักผ้า (สัดส่วน 30

15%) เครื่องใช้ไฟฟ้าขนาดเล็กภายในบ้าน อาทิ เตารีด เครื่องดูดฝุ่น อุปกรณ์ 20

ประกอบอาหาร พัดลม (สัดส่วนรวม 18%) และเครื่องใช้ไฟฟ้าอื่นๆ (สัดส่วน 10

10%) โดยส่วนใหญ่จาหน่ายผ่านร้านจาหน่ายเครื่องใช้ไฟฟ้าทั่วไปที่มี 0
2007

2008

2009

2010

2011

2012

2013

2014

2015

2016

2017
จานวนมากกว่า 3,000 รายทั่วประเทศ หรือมีสัดส่วนประมาณ 60-65%
ของมูลค่าตลาดในประเทศ รองลงมา คือ ร้านค้าปลีกสมัยใหม่ (อาทิ ดิส Air-conditioners Compressors
เคาน์สโตร์ ห้างสรรพสินค้า ร้านค้าอุปกรณ์ตกแต่งบ้านสมัยใหม่ ) 30-35% Refrigerators
TVs
Rice cookers
Washing machines
และจาหน่ายผ่านช่องทางอื่น (อาทิ การขายตรง การขายผ่านอินเตอร์เน็ต) 5%
Source : OIE

 สถานการณ์ที่ผ่านมา
การผลิตเครื่องใช้ไฟฟ้าของไทยมีอัตราการเติบโตสูงเฉลี่ย 11% ต่อ Figure 8: Electrical Appliance Exports by Value
ปี ในช่วงปี 2545-2550 แรงหนุนจากความต้องการในตลาดส่งออกที่ขยายตัว
ดี ต ามทิ ศ ทางเศรษฐกิ จ ประเทศคู่ ค้ า ประกอบกั บ ตลาดเครื่ อ งใช้ ไ ฟฟ้ า million USD

ภายในประเทศได้อานิสงส์จากภาวะเศรษฐกิจที่เติบโตสูงต่อเนื่องเฉลี่ยกว่า 5% 25,000
Subprime
ต่อปี หลังจากเกิดวิกฤตซับไพรม์ในปี 2551 การผลิตเครื่องใช้ไฟฟ้าของ 20,000 crisis
ไทยประสบภาวะซบเซา โดยมูลค่าส่งออกเครื่องใช้ไฟฟ้าของไทยทรุดตัวลง
15,000
แรงตั้งแต่ช่วงครึ่งหลังของปี 2551 และหดตัวถึง 13.8% YoY ในปี 2552 ด้าน
ตลาดในประเทศปริมาณจาหน่ายหดตัว 1.9% YoY จากปัญหาความไม่สงบ 10,000

ทางการเมือง ส่งผลให้ความเชื่อมั่นในการใช้จ่ายของผู้บริโภคลดลง ในปี 2553 5,000


2007
2008
2009
2010
2011
2012
2013
2014
2015
2016
2017

สถานการณ์กลับมาฟื้นตัว ปริมาณผลิตเครื่องใช้ไฟฟ้าเติบโต 26.4% YoY


มูลค่าส่งออกเติบโต 32.4%YoY และการจาหน่ายเครื่องใช้ไฟฟ้าในประเทศ
ขยายตัว 20.7% YoY ในเชิงปริมาณ และขยายตัว 3.8% YoY ในเชิงมูลค่า ส่วน Source: MOC

หนึ่งเป็นผลจากการขยายตัวจากการเทียบฐานต่าในช่วงวิกฤตเศรษฐกิจ

3/ วิวัฒนาการผลิตหน้าจอโทรทัศน์เริ่มจาก CRT (Cathode Ray Tube) พัฒนาเป็น CLD (Color Layout Descriptor)
และปัจจุบันพัฒนาการผลิตไปสู่ LED (Light-Emitting Diodes) ที่มีความละเอียดสูงระดับ 4K
4/ บจก. ซีโบ ผู้ผลิตจอโทรทัศน์สัญชาติไทยสามารถผลิตจอ LCD และ LED ที่มีความละเอียดระดับ 4K และสามารถ
ผลิตจอภาพโค้งได้ รวมทั้งผลิตโทรทัศน์ภายใต้แบรนด์ “PrismaPro”

Krungsri Research 3
แนวโน้มธุรกิจ/อุตสาหกรรม ปี 2561-63 อุตสาหกรรมเครื่องใช้ไฟฟ้า

ในช่ ว งปี 2555-2559 ปริ ม าณผลิ ต เครื่ อ งใช้ ไ ฟฟ้ า ของไทยเติ บ โต Table 2: Electrical Appliance Exports by Product
ค่อนข้างจากัดเฉลี่ย 1.4% ต่อปี ผลจาก Million USD

 ปริมาณจาหน่ายเครื่องใช้ไฟฟ้าในประเทศช่วง 5 ปีที่ผ่านมา เผชิญ 2014 2015 2016 2017 % YoY


ภาวะผั น ผวน ปี 2555 มี ย อดจ าหน่ า ยเครื่ อ งใช้ ไ ฟฟ้ า รายการหลั ก ใน Video recording 680 559 510 520 2.0
ประเทศ (ประกอบด้วย เครื่องปรับอากาศ คอมเพรสเซอร์ ตู้เย็น เครื่องซัก Television receiver 4,015 3,667 2,836 2,855 0.7
ผ้า โทรทั ศ น์ และ หม้ อ หุ ง ข้ า ว) 5/ สู ง ถึ ง 17.7 ล้ า นหน่ ว ย ผลจากความ Refrigerators 1,932 1,846 1,884 1,935 2.7
ต้ อ งการเครื่ อ งใช้ ไ ฟฟ้ า เพื่ อ ทดแทนที่ เ สี ย หายจากน้ าท่ ว มใหญ่ ใ นช่ ว ง Air conditioner 4,610 4,594 4,870 4,824 -1.0

ปลายปี 2554 ประกอบกับหลัง วิกฤตน้ าท่ วมมี ผลให้ เกิดการเร่ง พั ฒนา Washing machine 1,089 1,077 1,148 1,600 39.4

โครงการคอนโดมิเนียม ส่ง ผลให้ ความต้อ งการเครื่อ งใช้ไฟฟ้ า ยัง อยู่ใ น Compressors 1,112 1,022 965 911 -5.6
Others 10,100 9,553 9,860 10,859 10.1
ระดับสูงต่อเนื่องในปี 2556-2557 กอปรกับสภาพอากาศร้อนจัดในไทย
Total 23,538 22,318 22,072 23,503 6.5
หนุนความต้องการเครื่องปรับอากาศให้เติบโตดี อย่างไรก็ตาม ในปี 2558-
Source: MOC
2559 ได้รับผลกระทบจากการเร่งซื้อเครื่องใช้ไฟฟ้าไปมากในช่วงก่อนหน้า
ซึ่ง เครื่อ งใช้ไ ฟฟ้ า ส่ว นใหญ่ มี ร ะยะเวลาถื อ ครองและเปลี่ ยนเครื่อ งใหม่
(Replacement cycle) เฉลี่ย 8-12 ปี ผนวกกับตลาดอสังหาริมทรัพย์อยู่ใน Figure 9: Domestic Sales* by Product
ภาวะซบเซา มีผลให้ยอดจาหน่ายเครื่องใช้ไฟฟ้าในประเทศมีภาวะชะลอตัว million units
ในเชิงปริมาณ โดยในปี 2558 หดตัว 6.1% YoY และปี 2559 เติบโต 2.0%
20
YoY อย่ า งไรก็ ต าม จากรายงานของ Euromonitor พบว่ า การเปิ ด ตั ว
16
เครื่องใช้ไฟฟ้าเทคโนโลยีใหม่ๆ ผลักดันราคาจาหน่ายให้สูงขึ้น ส่งผลให้
มูลค่ าตลาดเครื่ องใช้ไฟฟ้ า ในประเทศเติบ โตเฉลี่ ย 6.3% ต่อ ปี ในช่ว ง 12

2555-2559 8

4
 การส่งออกเผชิญข้อจากัดในการเติบโต โดยมูลค่าส่งออกหดตัวเฉลี่ย
0.1% ต่อปี เนื่องจาก 1) เศรษฐกิจโลกฟื้นตัวช้า 2) ศักยภาพการแข่งขัน 0
2007

2008

2009

2010

2011

2012

2013

2014

2015

2016

2017
ของฐานการผลิตเครื่องใช้ไฟฟ้าของไทยบางรายการเริ่มเข้าสู่ภาวะถดถอย
(โดยเฉพาะเครื่องใช้ไฟฟ้ากลุ่มภาพและเสียง (Audio and Visual: AV)) 3) Air-conditioners Compressors
Refrigerators Rice cookers
วิกฤตน้าท่วมครั้งรุนแรงในไทยช่วงปลายปี 2554 สร้างความเสียหายให้กับ TVs Washing machines
ฐานผลิตเครื่องใช้ไฟฟ้าในไทย และ 4) การปรับขึ้นค่าจ้างแรงงานขั้นต่าทั่ว
Source: OIE
ประเทศเป็น 300 บาทต่อวัน ในปี 2555 ทาให้โรงงานผลิตเครื่องใช้ไฟฟ้า Note: *From an Office of Industrial Economics survey of the volume of
Thai-made electrical goods distributed on the domestic market.
และส่วนประกอบข้ามชาติบางรายย้ายฐานการผลิตออกจากไทย

สาหรับสถานการณ์อุตสาหกรรมเครื่องใช้ไฟฟ้าของไทยในปี 2560 การผลิตเครื่องใช้ไฟฟ้าของไทยหดตัว 7.2% YoY หรือมีจานวน 44.9 ล้าน


หน่วย สอดคล้องกับดัชนีผลผลิตอุตสาหกรรมเครือ่ งใช้ไฟฟ้าเฉลี่ยปี 2560 อยู่ที่ 119.8 ลดลงเมื่อเทียบกับช่วงเดียวกันของปีก่อนที่ระดับ 128.6
แรงฉุดหลักจากการจาหน่ายเครื่องใช้ไฟฟ้าในประเทศหดตัวค่อนข้างมาก ส่วนตลาดส่งออกขยายตัวเล็กน้อย อย่างไรก็ตาม มูลค่าตลาดเครื่องใช้
ไฟฟ้าโดยรวมยังขยายตัว ส่วนหนึ่งเป็นผลจากการปรับขึ้นราคาเครื่องใช้ไฟฟ้าที่มีนวัตกรรมใหม่ๆ
 ตลาดเครื่องใช้ไฟฟ้าในประเทศปี 2560 มียอดจาหน่าย 14.7 ล้านหน่วย หดตัว 9.2% YoY แต่มีมูลค่าใกล้เคียงกับปีก่อน เนื่องจากอุณหภูมิที่ลด
ต่ากว่าปีก่อน และผลจากการเร่งซื้อเครื่องใช้ไฟฟ้าทาความเย็นไปแล้วก่อนหน้าในช่วงเกิดปรากฏการณ์ El Nino ในช่วงปี 2558-2559 ทาให้ยอดจาหน่าย
เครื่องปรับอากาศและคอมเพรสเซอร์ลดลงมาก (-13.9% YoY และ -9.8% YoY ตามลาดับ) ขณะที่ยอดจาหน่ายเครื่องใช้ไฟฟ้าอื่นๆ อาทิ ตู้เย็น โทรทัศน์
หม้อหุงข้าว เครื่องซักผ้า เป็นต้น หดตัว 6.1% YoY ตามภาวะตลาดอสังหาริมทรัพย์ที่ยังซบเซา
 การส่งออกเครื่องใช้ไฟฟ้าของไทยในปี 2560 มีมูลค่า 23,503 ล้านดอลลาร์สหรัฐฯ เติบโต 6.5%YoY เนื่องจากเศรษฐกิจประเทศตลาดส่งออกหลัก
คือ สหรัฐฯ ยุโรป ญี่ปุ่น และจีน (สัดส่วนส่งออกรวมกัน 47% ของมูลค่าการส่งออกเครื่องใช้ไฟฟ้าทั้งหมด) ฟื้นตัวต่อเนื่อง โดยเครื่องใช้ไฟฟ้าประเภททีส่ ่งออก
ได้เพิ่มขึ้น อาทิ โทรทัศน์ มูลค่า 2,855 ล้านดอลลาร์สหรัฐฯ (+0.7% YoY) ตู้เย็น มูลค่า 1,935 ล้านดอลลาร์สหรัฐฯ (+2.7% YoY) เครื่องซักผ้า มูลค่า 1,600
ล้านดอลลาร์สหรัฐฯ (+39.4% YoY) วิทยุ มูลค่า 520 ล้านดอลลาร์สหรัฐฯ (+2.0% YoY) และเครื่องใช้ไฟฟ้าอื่นๆ (เช่น พัดลม ไมโครเวฟ เครื่องทาน้าอุ่น เป็น
ต้น) มูลค่ารวม 10,859 ล้านดอลลาร์สหรัฐฯ (+10.1% YoY) ส่วนการส่งออกเครื่องใช้ไฟฟ้าที่ลดลง คือ เครื่องปรับอากาศ มูลค่า 4,824 ล้านดอลลาร์สหรัฐฯ
(-1.0% YoY) และคอมเพรสเซอร์ มูลค่า 911 ล้านดอลลาร์สหรัฐฯ (-5.6% YoY)

5/ อ้างอิงข้อมูลการสารวจของสานักงานเศรษฐกิจอุตสาหกรรม

Krungsri Research 4
แนวโน้มธุรกิจ/อุตสาหกรรม ปี 2561-63 อุตสาหกรรมเครื่องใช้ไฟฟ้า

 แนวโน้มอุตสาหกรรม
ปริมาณการผลิตเครื่องใช้ไฟฟ้าของไทยในปี 2561 มีแนวโน้มหดตัว 1-3% YoY แต่จะกลับมาขยายตัว 3-5% ต่อปี ในปี 2562-2563 โดยการ
ส่งออกเครื่องใช้ไฟฟ้าคาดว่าจะขยายตัวต่อเนื่องตามทิศทางเศรษฐกิจประเทศคู่ค้า โดยเฉพาะในภูมิภาคอาเซียน (สัดส่วนส่งออก 22% ของมูลค่าส่งออก
เครื่องใช้ไฟฟ้าทั้งหมด) ส่วนตลาดเครื่องใช้ไฟฟ้าในประเทศจะทยอยปรับดีขึ้นนับจากปี 2562 (กระเตื้องขึ้นช้ากว่าคาด เนื่องจากตลาดเครื่องปรับอากาศยังมี
ข้อจากัดการเติบโตจากสภาพอากาศที่ไม่เอื้อ) ทั้งนี้ ปัจจัยหนุนการขยายตัวของตลาดในปี 2562-2563 มาจากภาวะเศรษฐกิจที่ฟื้นตัวและกาลังซื้อภาคครัวเรือนที่
ปรับดีขึ้นภายหลังจากภาระหนี้โครงการรถคันแรกทยอยครบกาหนด ตลาดอสังหาริมทรัพย์ที่ทยอยฟื้นตัวทาให้มีความต้องการเครื่องใช้ไฟฟ้าเพิ่มขึ้น และผู้บริโภค
บางส่วนจะมีความต้องการเปลี่ยนเครื่องใช้ไฟฟ้าใหม่ตาม Replacement cycle ประกอบกับคาดว่าผู้ผลิตและผู้ค้าเครื่องใช้ไฟฟ้าจะมีกลยุทธ์การตลาดช่วย
กระตุ้นการตัดสินใจซื้อของผู้บริโภคเพิ่มขึ้นหลังจากตลาดซบเซาต่อเนื่องมาหลายปี
 คาดว่าตลาดเครื่องใช้ไฟฟ้าในประเทศกระเตื้องขึ้นช้ากว่าคาดในปี 2561 Figure 10: Growth of Electrical Appliance Sales Forecasts
ความต้องการเครื่องใช้ไฟฟ้าจะยังหดตัว 5-10% YoY ในเชิงปริมาณ โดย % YoY
Export sales Value
ความต้องการในกลุ่มเครื่องปรับอากาศและคอมเพรสเซอร์ซึ่งเป็นเซ็กเมนต์หลัก 12
9
ยังมีแนวโน้มหดตัวต่อเนื่องจากปีก่อน ผลจากปรากฏการณ์ La Nina (เริ่มตั้งแต่ 6
ปี 2560 ) ทาให้ฤดูฝนยาวนานกว่าปกติและอุณหภูมิลดลง จึงไม่เอื้อต่อการทา 3
ตลาดเครื่องปรับอากาศ อย่างไรก็ตาม อานิสงส์จากการแข่งขันฟุตบอลโลกจะ 0
-3
ช่วยหนุนความต้องการโทรทัศน์ขยายตัวและการจัดโปรโมชั่นของผู้ผลิตและผู้ -6
จาหน่ายจะช่วยหนุนการการเติบโตของยอดจาหน่ายเครื่องใช้ไฟฟ้าบางกลุ่ม -9
-12
โดยเฉพาะเครื่องใช้ไฟฟ้าในครัวเรือนขนาดเล็กที่มี Replacement cycle สั้น % YoY Domestic sales Volume
ขณะที่มูลค่าตลาดเครื่องใช้ไฟฟ้าในประเทศปี 2561 มีระดับใกล้เคียงปี 12
2559-2560 ผลจากราคาสิ น ค้ า ปรั บ สู ง ขึ้ น ตามนวั ต กรรมใหม่ ๆ 6/ อาทิ 9
6
เครื่องปรับอากาศระบบอินเวอร์เตอร์ที่ ช่วยประหยัดไฟฟ้ า เครื่อ งใช้ไฟฟ้ าที่ 3
ควบคุมผ่านสมาร์ทโฟน เป็นต้น 0
-3
 ปี 2562-2563 คาดว่าความต้องการเครื่องใช้ไฟฟ้าในประเทศจะเติบโต -6
ทั้งเชิงปริมาณและมูลค่า โดยจะขยายตัว 3-5% ต่อปีในเชิงปริมาณ อานิสงส์ -9
จากตลาดที่ อ ยู่ อ าศั ย ที่ ค าดว่ า จะปรั บ ตั ว ดี ขึ้ น ผู้ บ ริ โ ภคบางส่ ว นที่ เ ร่ ง ซื้ อ -12
เครื่ อ งใช้ ไ ฟฟ้ า ในช่ ว งหลายปี ก่ อ นจะกลั บ มามี ค วามต้ อ งการเปลี่ ย น
เครื่องใช้ไฟฟ้าใหม่ตาม Replacement cycle และความต้องการเครื่องปรับ Source: OIE, MOC, Forecast by Krungsri Research
อากาศที่คาดว่าจะกลับมาเติบโต เนื่องจากสภาพอากาศที่คาดว่าจะมีอุณหภูมิ
สูงขึ้นหลังเข้าสู่ปรากฏการณ์ El Nino รอบใหม่ในปี 2562-2563 ประกอบกับคาดว่าผู้ผลิตเครื่องใช้ไฟฟ้าจะมีการจัดโปรโมชั่นกระตุ้นยอดขายอย่างต่อเนื่อง
ส่วนมูลค่าตลาดจะเติบโต 8-10% ต่อปี อานิสงส์จากการเปิดตัวสินค้านวัตกรรมใหม่ๆ ที่มีราคาสูงต่อเนื่อง
 มูลค่าส่งออกเครื่องใช้ไฟฟ้าในปี 2561-2563 จะเติบโตเฉลี่ย 3-5% ต่อปี ตามการส่งออกไปสหรัฐฯ และยุโรป (สัดส่วนส่งออกรวมกันประมาณ 30%
ของการมูลค่าส่งออกเครื่องใช้ไฟฟ้าทั้งหมดของไทย) และภูมิภาคเอเชีย ซึ่งมีอัตราการถือครองเครื่องใช้ไฟฟ้าในระดับต่า7/ และมีความต้องการบริโภคเพิ่มขึ้น
จากกลุ่มคนชั้นกลาง 8/ โดยไทยยังคงเป็นหนึ่งในฐานการผลิตเครื่องใช้ไฟฟ้าเพื่อส่งออกที่สาคัญ และมีศักยภาพในการแข่งขันเป็นอันดับต้นๆ ของโลก
โดยเฉพาะกลุ่มเครื่องใช้ไฟฟ้าทาความเย็น (อาทิ เครื่องปรับอากาศ ตู้เย็น ตู้แช่ คอมเพรสเซอร์ เป็นต้น) ซึ่งบริษัทข้ามชาติรายใหญ่ยังมีแผนขยายการลงทุนใน
ไทยต่อเนื่องโดยเฉพาะเครื่องปรับอากาศ คอมเพรสเซอร์และส่วนประกอบ เพื่อเป็นฐานการผลิตหลักของภูมิภาค อย่างไรก็ตาม การส่งออกเครื่ องซักผ้ายังมี
ความเสี่ยงจากสหรัฐฯ ออกมาตรการปกป้องการนาเข้า (Safeguard)9/ อาจส่งผลให้การส่งออกไปตลาดสหรัฐฯ ลดลง (ในปี 2560 สหรัฐฯ มีสัดส่วนส่งออก
33% ของมูลค่าส่งออกเครื่องซักผ้าทั้งหมดของไทย)
 ในระยะปานกลาง - ยาว อุตสาหกรรมเครื่องใช้ไฟฟ้าของไทยยังมีโอกาสเติบโตอีกมาก เนื่องจากความต้องการเครื่องใช้ไฟฟ้าที่ใช้เทคโนโลยีขั้นสูง
แนวโน้มมากขึ้น สอดคล้องกับการพัฒนาพื้นที่โครงการระเบียงเศรษฐกิจภาคตะวันออก (EEC) ที่ภาครัฐให้ความสาคัญกับอุตสาหกรรมใหม่แห่งอนาคต หรือ
อุตสาหกรรม 4.0 จะช่วยดึงดูดเม็ดเงินลงทุนพัฒนานวัตกรรมการผลิตเครื่องใช้ไฟฟ้าในไทยเพิ่มขึ้น โดยเฉพาะเครื่องใช้ไฟฟ้ากลุ่มที่ไทยมีศักยภาพในการ
แข่งขันสูง อาทิ กลุ่มเครื่องทาความเย็น และกลุ่มเครื่องใช้ไฟฟ้าในครัวเรือน (White goods)

6/ บจ.เดอะมอลล์ กรุ๊ป รายงาน ตลาดเครื่องใช้ไฟฟ้าช่วง 10 ปีที่ผ่านมา (ตั้งแต่ ปี 2551) พบว่า มีการพัฒนาผลิตภัณฑ์อย่างต่อเนื่อง จากเดิมเครื่องใช้ไฟฟ้าจะมี
ระบบการทางานเพียงอย่างเดียวพัฒนาไปสู่เครื่องใช้ไฟฟ้าที่ทันสมัยขึ้น สามารถเชื่อมต่ออินเตอร์เน็ตและมีฟังก์ชั่นการใช้งานที่หลากหลาย ส่งผลให้ปัจจุบัน
สินค้าที่มีระบบการทางานเพียงอย่างเดียว (รุน่ Basic) มีสัดส่วน 40% ของจานวนเครื่องใช้ไฟฟ้าที่จาหน่ายในประเทศ และอีก 60% เป็นสินค้าที่มีการพัฒนา
นวัตกรรมใหม่ๆ ทาให้ราคาจาหน่ายสูงขึ้นเฉลี่ย 5-10% ต่อปี (ที่มา: positioningmag.com)
7/ เช่นในกรณีเครื่องปรับอากาศหลายประเทศในแถบเอเชียยังมีอัตราถือครองอยู่ในระดับต่ากว่า 20% อาทิ อินเดีย อินโดนีเซีย ฟิลิปปินส์ เมียนมาร์ กัมพูชา ลาว
8/ จากการคาดการณ์ของ Nielson (ปี 2558) ระบุว่า จานวนประชากรชนชัน้ กลางในประเทศกลุ่มประเทศอาเซียนจะมีจานวนเพิ่มขึ้น 17.7% CAGR ในช่วงปี
2558-2563
9/ มาตรการปกป้องการนาเข้า (Safeguard) ของสหรัฐฯ มีผลบังคับใช้วันที่ 7 ก.พ. 2561 สาหรับเครื่องซักผ้าพิกัด 845020, 845090, 845011 โดยจากัดโควต้า
นาเข้า 1.2 ล้านเครื่องต่อปี เก็บภาษีในอัตรา 20%, 18%, 16% ในปีที่ 1-3 ตามลาดับ กรณีนาเข้าเกินโควต้าจะเก็บภาษีในอัตรา 50%, 45%, 40% ในปีที่ 1-3
ตามลาดับ จากเดิมที่เก็บภาษีอัตรา 1.4%
Krungsri Research 5
แนวโน้มธุรกิจ/อุตสาหกรรม ปี 2561-63 อุตสาหกรรมเครื่องใช้ไฟฟ้า

 มุมมองวิจัยกรุงศรี : คาดว่าผลประกอบการอุตสาหกรรมเครื่องใช้ไฟฟ้าของไทยในปี 2561-2563 จะเติบโตต่อเนื่องใกล้เคียงกับปีที่ผ่านมา


ปัจจัยบวกจากนโยบายบริษัทแม่ให้ความสาคัญกับการพัฒนานวัตกรรมเครื่องใช้ไฟฟ้ารุ่นใหม่ในไทย ตลาดส่งออกมีแนวโน้มเติบโตต่อเนื่อง และ
ตลาดในประเทศที่จะทยอยปรับดีขึ้นตามการฟื้นตัวของกาลังซื้อผู้บริโภค
 ผู้ผลิตเครื่องใช้ไฟฟ้าทาความเย็น: จะสามารถรักษาผลประกอบการอยู่ในระดับปกติ ปัจจัยหนุนจากตลาดส่งออกที่จะกลับมาเติบโต เนื่องจากไทย
มีศักยภาพในการแข่งขันเป็นอันดับต้นๆ ของโลก อีกทั้งบริษัทข้ามชาติรายใหญ่ยังมีแผนขยายการลงทุนในไทยต่อเนื่องเพื่อเป็นฐานการผลิตห ลักของ
ภูมิภาค แต่อิทธิพลของ La Nina ที่ส่งผลให้อุณหภูมิในภูมิภาคอาเซียนเฉลี่ยทั้งปี 2561 ลดลง อาจเป็นข้อจากัดในการขยายตัวของตลาดอาเซียน (รวม
ตลาดในประเทศ) ในช่วงเวลาดังกล่าว อย่างไรก็ตาม คาดว่าในปี 2562-2563 สถานการณ์ผลิตจะดีขึ้นจากการฟื้นตัวของเศรษฐกิจจะหนุนความต้องการใช้
เครื่องใช้ไฟฟ้าเพิ่มขึ้น ประกอบกับอุณหภูมิจะสูงขึ้นจากปรากฏการณ์ El Nino เอื้อให้ความต้องการเครื่องปรับอากาศและคอมเพรสเซอร์กลับมาเติบโตได้
 ผู้ผลิตเครื่องใช้ไฟฟ้าในครัวเรือนอื่นๆ: คาดว่าผลประกอบการโดยรวมมีแนวโน้มทรงตัว การส่งออกคาดว่าจะยังเติบโต โดยเฉพาะเครื่องซักผ้าซึ่ง
ไทยเป็นฐานผลิตที่สาคัญของโลก และมีโอกาสส่งออกในเอเชียได้เพิ่มขึ้น (สามารถทดแทนตลาดสหรัฐฯ ที่มีปัจจัยเสี่ยงจากมาตรการกีดกันทางการค้าใน
สินค้าประเภทนี้) แต่การส่งออกเครื่องใช้ไฟฟ้าประเภทอื่นยังเผชิญภาวะการแข่งขันสูง โดยเฉพาะเครื่องใช้ไฟฟ้าจากจีนซึ่งมีราคาถูกกว่า และมีการพัฒนา
คุณภาพสูงขึ้นเป็นลาดับ ส่วนความต้องการเครื่องใช้ไฟฟ้าในประเทศมีแนวโน้มปรับดีขึ้น โดยเฉพาะเครื่องซักผ้า และเครื่องใช้ไฟฟ้าในครั วเรือนขนาดเล็ก
อาทิ หม้อหุงข้าว เครื่องดูดฝุ่น ไมโครเวฟ เป็นต้น แต่เครื่องใช้ไฟฟ้าในกลุ่มภาพและเสียงมีทิศทางลดลงจากการเข้ามาแย่งส่วนแบ่งตลาด ของอุปกรณ์
อิเล็กทรอนิกส์แบบพกพา อาทิ สมาร์ทโฟน แท็บแล็ต โน๊ตบุ๊ค เป็นต้น
 ผู้จาหน่ายเครื่องใช้ไฟฟ้า: คาดว่าตลาดเครื่องใช้ไฟฟ้าจะเติบโตต่าในปี 2561 แต่จะขยายตัวดีขึ้นในปี 2562-2563 โดยร้านค้าสมัยใหม่รายใหญ่
อาทิ Power Buy, Power Mall ซึ่งมีความได้เปรียบด้านเงินทุน ความหลากหลายของสินค้า สาขาที่มีจานวนมาก รวมทั้งกลยุทธ์การตลาดและราคาที่จูงใจ
จึงเป็นกลุ่มที่ได้อานิสงส์จากการฟื้นตัวของตลาดเครื่องใช้ไฟฟ้า แต่ร้านจาหน่ายเครื่องใช้ไฟฟ้าทั่วไปซึ่งส่วนใหญ่มีการบริหารธุรกิ จแบบดั้งเดิมอาจมีผล
ประกอบการไม่ดีนัก เนื่องจากเผชิญการแข่งขันรุนแรงขึ้นจากรายใหญ่ และร้านค้าปลีกสมัยใหม่บางประเภทที่มีการจาหน่ายเครื่องใช้ไฟฟ้า อาทิ HomePro,
homeWorks, TESCO Lotus, Big C เป็นต้น

Krungsri Research 6
วิจัยกรุงศรี
ดร.สมประวิณ มันประเสริฐ ผู้บริหารสายงานวิจัยและหัวหน้าทีมวิจัยเศรษฐกิจ
พรพรรณ โภคย์สุพัสตร์ ผู้บริหารฝ่ายวิจัยเศรษฐกิจและอุตสาหกรรม

ทีมวิจัยเศรษฐกิจ
 ศรันต์ สุนนั ท์สถาพร หัวหน้าทีมวิเคราะห์เศรษฐกิจเชิงกลยุทธ์
 สุจิต ชัยวิชญชาติ หัวหน้าทีมพยากรณ์เศรษฐกิจและวิเคราะห์ความเสี่ยงมหภาค
 จุไรลักษณ์ พลศรี เศรษฐกรอาวุโส
 สร้อยสนธิ์ หล่อสุวรรณกุล เศรษฐกรอาวุโส (เศรษฐกิจภูมิภาค)
 สถิตย์ แถลงสัตย์ เศรษฐกรอาวุโส (เศรษฐกิจภูมิภาค)
 ลูกหิน วราโชติเศรษฐ์ เศรษฐกร
 ธนาพร ศรีคล้าย เศรษฐกร

ทีมวิจัยอุตสาหกรรม
 เชฐชุดา เชื้อสุวรรณ หัวหน้าทีมวิจัยธุรกิจเกษตรและอุตสาหกรรมการผลิต
 ธเนศ มหัทธนาลัย หัวหน้าทีมวิจัยธุรกิจบริการและอสังหาริมทรัพย์
 พูลสุข นิลกิจศรานนท์ นักวิเคราะห์อาวุโส (Healthcare, Modern Trade, ICT)
 ปิยะนุช สถาพงศ์ภักดี นักวิเคราะห์อาวุโส (Transportation & Logistics, Industry Risk Ratings)
 นรินทร์ ตันไพบูลย์ นักวิเคราะห์อาวุโส (Power Generation, Biofuel, Chemical & Plastic Products)
 พุทธชาด ลุนคา นักวิเคราะห์ (Tourism Sectors, Real Estate in Upcountry)
 นิรัติศยั ทุมวงษา นักวิเคราะห์ (Construction Contractor, Construction Materials)
 วรรณา ยงพิศาลภพ นักวิเคราะห์ (Automobile, Electronics & Electrical Appliances, Beverages)
 พัชรา กลิ่นชวนชื่น นักวิเคราะห์ (Real Estate in BMR)

ทีมพัฒนางานวิจัย
 ตลับลักขณ์ ธนดิษฐ์สุวรรณ นักวิเคราะห์อาวุโส (Financial Sectors)
 รชฏ เลียงจันทร์ นักวิเคราะห์ (Oil & Gas, Petrochemicals, Industry Scenario Analysis)
 อาภากร นพรัตยาภรณ์ นักวิเคราะห์

ทีมบริหารระบบข้อมูลวิจัย
 สุรัชนี สมประสงค์ เจ้าหน้าที่บริหารงานทัว่ ไป
 ธมณ เสริญสุขสกุล เจ้าหน้าที่บริหารงานทัว่ ไป
 เชิดศักดิ์ ศรีชัยตัน เจ้าหน้าที่ระบบข้อมูลวิจัย
 วงศกร แก้วอุดทัง เจ้าหน้าที่ระบบข้อมูลวิจัย

สนใจสมัครรับอีเมล์ได้ที่ krungsri.research@krungsri.com

คาสงวนสิทธิ์
เอกสารฉบับนี้จัดทาขึ้นจากแหล่งข้อมูลที่เปิดเผยต่อสาธารณชนที่น่าเชื่อถือ อย่างไรก็ตามวิจัยกรุงศรีมิอาจรับรองความถูกต้องและความสมบูรณ์ของข้อมูลดังกล่าวได้ ทั้งนี้ข้อคิดเห็นที่ปรากฏ
เป็นความคิดเห็นของวิจัยกรุงศรี ไม่จาเป็นต้องสอดคล้องกับ บมจ. ธนาคารกรุงศรีอยุธยา และขอสงวนสิทธิ์ในการเปลี่ยนแปลงความเห็น หรือประมาณการต่างๆ โดยไม่ต้องแจ้งล่วงหน้า

Krungsri Research 7

You might also like