You are on page 1of 13

แนวทางการตรวจค้นและ


ดูแลรักษาภาวะแทรกซ้อน

จากเบาหวานที่ไต
ณัฐพล สถาวโรดม

6 พฤศจิกายน 2560
โรคไตจากเบาหวาน 

(Diabetic nephropathy; DN)
อุบัติการณ์และการดำเนินโรคของ DN สัมพันธ์กับระดับนำ้ตาลใน
เลือด ความดันโลหิตสูง และปัจจัยทางพันธุกรรม

ระยะเริ่มแรกของ DN ตรวจพบอัลบูมินในปัสสาวะ

ระดับผิดปกติตั้งแต่ 30 มก.ต่อวัน หรือ 30 มก.ต่อกรัมครีอะตินีน

การตรวจปัสสาวะโดยใช้ dipstick จะให้ผลบวกต่อเมื่อค่าอัลบูมิน


ในปัสสาวะมากกว่า 300 มก.ต่อวัน หรือ 300 มก.ต่อกรัมครีอะตินีน
การคัดกรอง
การวินิจฉัย และ
การรักษา
โรคไตจากเบาหวาน
Albuminuria
 A1C (%)
 BP (mmHg) หมายเหตุ
มก.ต่อวัน *Individualized

ระยะที่ยังไม่พบ
~7.0* <140/90 ACEI หรือ ARB
albuminuria

30-300 ~7.0* <130/80 ACEI หรือ ARB

>300 ~7.0* <130/80 ACEI หรือ ARB

ระยะ
 พบแพทย์ผู้เชี่ยวชาญโรคไต ค้นหาโรคร่วม


ไตวายเรื้อรัง
 หลีกเลี่ยงการได้รับ NSAIDs หรือสารทึบรังสี

ระดับ 4, 5 จำกัดปริมาณโปรตีนในอาหาร <0.8 กรัม/ กก./วัน

แนวทางการป้องกันและการดูแลรักษาโรคไตจากเบาหวาน
การแบ่งระยะของโรคไตเรื้อรัง

Inker et al. 2012 KDIGO. Am J Kidney Dis 2014; 63: 713-73.


ระดับนำ้ตาลมีความแปรปรวน

ในผู้ป่วยโรคไตจากเบาหวาน
Decreased kidney
function

•Decreased renal gluconeogenesis •Secondary


•Lower renal insulin degradation hyperparathyroidism
•Deficient catecholamine release •Low 1,25 (OH)2 vitamin D
•Uremic malnutrition
Uremic toxins

Lower hepatic
Increased insulin
insulin
resistance
Hypo degradation
Hyper
glycemia glycemia

Glycemic
Dysregulation Glucose load
Burnt-out diabetes from dialysate
(PD, HD)

Adapted from Kovesdy CP et al. Am J Kidney Dis. 2008;52:766-77.


การให้ยารักษาเบาหวานที่ไม่ใช่อินซูลินใน
ผู้ป่วยเบาหวานที่มีโรคไตเรื้อรัง

CPG_DM 2017
12.5
25

CPG_DM 2017
CPG_DM 2017
การให้อินซูลินในผู้ป่วยเบาหวาน

ที่มีโรคไตเรื้อรัง

eGFR
 คำแนะนำของ

(mL/min/1.73 m2) ความต้องการอินซูลินต่อวัน

10-50 
 ลดขนาดลงร้อยละ 25 

ของขนาดเริ่มต้นในคนปกติ

ลดขนาดลงร้อยละ 50 

<10
ของขนาดเริ่มต้นในคนปกติ
CPG_DM 2017
การควบคุมเบาหวานในหน่วยที่ทำ HD

ผู้ป่วยควรนำอินซูลินและยาเม็ดที่ใช้มาด้วย
ขณะทำ dialysis

ในผู้ที่ได้รับการรักษาด้วยยาที่อาจทำให้เกิด

ภาวะนำ้ตาลตำ่ในเลือด ควรมีการเจาะตรวจนำ้
ตาลในเลือดทั้งระยะก่อนทำและก่อนเสร็จการ
ทำ dialysis
CPG_DM 2017
การควบคุมเบาหวานในหน่วยที่ทำ HD

ควรลดขนาดอินซูลินที่ให้ 10-15% ในระหว่าง


และทันทีหลังทำ dialysis

ถ้า A1c >7.5% ควรมีการลดขนาดอินซูลินหรือ


ยาเม็ดลดระดับนำ้ตาลที่เพิ่มระดับอินซูลินเพื่อ
ลดความเสี่ยงการเกิดภาวะนำ้ตาลตำ่ในเลือด
CPG_DM 2017
สรุป
อุบัติการณ์ของโรคไตเรื้อรังจากเบาหวานเพิ่มมากขึ้น

ผู้ป่วยเบาหวานชนิดที่ 2 ควรได้รับคัดกรองโดยการตรวจอัลบูมินในปัสสาวะอย่างน้อย
ปีละครั้ง

การชะลอการเสื่อมของไตจากโรคเบาหวานกระทำได้โดย

ควบคุมอาหาร รับประทานอาหารอ่อนเค็ม อ่อนหวาน 



และลดไขมัน นอกจากนั้นต้องลดนำ้หนักในผู้ที่นำ้หนักเกิน

ควบคุมเบาหวานและความดันโลหิตตามเป้าหมายในแต่ละบุคคล

ยาในกลุ่ม ACEI หรือ ARB มีประโยชน์ในการชะลอการเสื่อมของไต ถ้าไม่มีข้อห้าม

ยาเม็ดลดนำ้ตาลและอินซูลินจำเป็นต้องปรับลดตามขนาดการทำงานของไต

You might also like