You are on page 1of 4

การประชุมสัมมนาเชิงวิชาการ

รูปแบบพลังงานทดแทนสู่ชมุ ชนแห่งประเทศไทยครั้งที่ 8
The 8th Thailand Renewable Energy for Community Conference

EN002
เครื่องดักจับฝุ่นด้วยไซโคลนและไฟฟ้าสถิตสาหรับโรงสีข้าว
A cyclone and electrostatic precipitator for rice mill

สุรินทร์ แหงมงาม 1*, ศศิวรรณ อินทรวงศ์2, กิตติศักดิ์ ไชยสุวรรณ1, ศรันยู สุขสวัสดิ์ 1, อนาวิน กรรณแก้ว1, ภูมิใจ เหล่าผง 1
1ภาควิชาวิศวกรรมไฟฟ้า คณะวิศวกรรมศาสตร์ มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีราชมงคลธัญบุรี
2สถาบันวิจย
ั และพัฒนา มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีราชมงคลธัญบุรี
*Email : surin.n@en.rmutt.ac.th

บทคัดย่อ เชิงไฟฟ้าสถิตชนิดเส้นลวดแผ่นเรียบสาหรับดักเขม่าจากการเผาไหม้ไม้ฟืน
ฝุ่นละอองที่ลอยอยู่ในอากาศมีผลกระทบต่อสุขภาพของสิ่งมีชีวิต ผลการทดลองเบื้องต้นปรากฏว่าเครื่องตกตะกอนเชิงไฟฟ้าสถิตชนิดเส้น
ทั้งมนุษย์และสัตว์ ฝุ่นละอองที่มีขนาดเล็กจะสามารถทะลุเข้าไปสู่ส่วนลึก ลวดแผ่นเรียบโดยให้แรงดันไฟฟ้าสูงสูด 12 kV (DC) มีประสิทธิภาพเฉลี่ย
ในระบบหายใจ ทาให้เกิดการอักเสบหรือโรคภูมิแพ้ งานวิจัยนี้จึงนาเสนอ 58.43 % อย่างไรก็ตามควรมีการปรับปรุงประสิทธิภาพให้สูงโดยศึกษาผล
เครื่อ งดักจับ ฝุ่นด้วยไซโคลนและไฟฟ้าสถิตสาหรับโรงสีข้าว จุดประสงค์ ของตัวแปรที่สาคัญคือระยะระหว่างแผ่นเรียบและระยะระหว่างเส้นลวด
เพื่อลดปริมาณฝุ่นในโรงสีข้าว เครื่องดักจับฝุ่นด้วยไซโคลนและไฟฟ้าสถิต รวมทั้ งขนาดของอุ ป กรณ์ ต่ อ ประสิ ท ธิภ าพการดัก จั บ ดั ว ย พงษ์ ส วัส ดิ์
ถูกออกแบบให้แ ผงของชุดดัก จับ ฝุ่นมีลัก ษณะผิวขรุขระ เพื่อให้ เกิดการ คชภูมิ [1] นาเสนอการดักฝุ่นแบบหลักการของไซโคลนประกอบกับการ
โคโรน่าได้ง่าย ทาให้เพิ่มความสามารถในการดักจับฝุ่นที่ใช้แรงดันไฟฟ้า ดักฝุ่นด้วยไฟฟ้าสถิต ซึ่งสามารถดักจับฝุ่นที่มีขนาดเล็กได้ และทางานได้
กระแสตรงไม่สูงมาก จากผลการทดสอบโดยวัดปริมาณฝุ่นขาออกจาก ในสภาวะอุณหภูมิสูงความดันสูง โดยอาศัยหลักแรงเหวี่ยงหนีศูนย์กลาง
ไซโคลน พบว่ามีปริมาณฝุ่นเฉลี่ย 7.3 mg/m3 ฝุ่นที่เหลือจะเข้าไปยังชุด และการสร้า งสนามไฟฟ้าแรงดันสูง ซึ่งจะทาให้ ฝุ่นละอองมีสภาพเป็ น
ดักฝุ่นด้วยไฟฟ้าสถิต เมื่อ วัดฝุ่นบริเวณทางออกของชุดดักฝุ่นด้วยไฟฟ้า ประจุเข้าไปในสนามไฟฟ้า ประวิทย์ ลี้เ หมือดภัย [2] ได้ศึกษาเกี่ยวกับ
สถิตมีปริมาณฝุ่นเฉลี่ยเท่ากับ 0.909 mg/m3 จากผลการวัดปริมาณฝุ่นจะ เครื่อ งตกตะกอนไฟฟ้ า สถิ ตสาหรับ การก าจั ดอนุภ าคไอเสีย จากเตาเผา
เห็นว่าเครื่องดักจับฝุ่นด้วยไซโคลนและไฟฟ้าสถิตสามารถช่วยลดปัญหาฝุ่น ชีวมวล โดยใช้เครื่องตกตะกอนไฟฟ้าแบบหลายท่อในการหาประสิทธิภาพ
ละอองในโรงสีข้าวลงได้ และขนาดที่เหมาะสม ผลทดสอบกับเตาเผาชีวมวลพบว่าประสิทธิภาพที่
ได้จากการทดสอบมีค่า 71.16% 60.22% และ 40.09% ซึ่งใกล้เคียงกับ
คาสาคัญ: ไซโคลน ไฟฟ้าสถิต เครื่องดักจับฝุ่น โรงสีข้าว ฝุ่น ค่าที่ได้จากแบบจาลองทางคณิตศาสตร์ ดังนั้นเครื่องตกตะกอนไฟฟ้าสถิตที่
ออกแบบนี้สามารถนาไปใช้งานได้จ ริงและแบบจ าลองทางคณิ ตศาสตร์
Abstract สามารถใช้ ในการออกแบบได้ ซึ่งมี ค่า ความคลาดเคลื่ อ นเฉลี่ย 11.89%
Dust is affecting to the health of an organism, both of งานวิจัยนี้นาเสนอเครื่องดักจับฝุ่นด้วยไซโคลนและไฟฟ้ าสถิตสาหรับโรงสี
humans and animals. Smaller particles can penetrate deep ข้าว โดยมีวัตถุประสงค์ คือ 1) เพื่อศึกษาและออกแบบเครื่องดักฝุ่นด้วย
into the respiratory system that cause to inflammation or ไซโคลนและไฟฟ้าสถิต 2) เพื่อศึกษาและออกแบบชุดเพิ่มประจุไฟฟ้าให้ฝุ่น
allergies. This research presents a cyclone and electrostatic ละอองเพื่อ ทางานร่ว มกับ สนามไฟฟ้า และ 3) เพื่อ ศึก ษาและออกแบบ
precipitator for rice mill aim to reduce the amount of dust. สนามไฟฟ้าบนแผ่นระนาบตัวนา
The precipitator skin of this machine is designed as rough skin
for the sake of easy to achieve a corona to increase the 2. ทฤษฎีและเนื้อหาที่เกี่ยวข้อง
ability for capturing dust by using DC voltage at low level. The 2.1 ทฤษฎีมลภาวะอากาศ [3]
experimental results found that the dust from the cyclone is ถึ งแม้ ว่ า จะยั งไม่ มี ก ารศึ ก ษาผลกระทบต่ อ สิ่งแวดล้ อ มที่ เกิ ด จาก
average about 7.3 mg/m3. Remain dust will pass to กระบวนการผลิตของโรงสีข้าวและมาตรการป้องกันปัญหาที่เกิดขึ้นอย่าง
electrostatic precipitator. Dust from the electrostatic เป็ น รู ป ธรรม แต่ ส ามารถสรุ ป ลั ก ษณะของปั ญ หามลพิ ษ ที่ จ ะเกิ ด ต่ อ
precipitator is measured and found that the average of dust is สิ่งแวดล้อมได้ ผลกระทบหลักที่เห็นได้เด่นชัดจากกิจกรรมการดาเนินการ
about 0 .9 0 9 mg/m3 . The results show that a cyclone and ของโรงสีข้าว คือฝุ่นละออง ซึ่งสามารถรวบรวมข้อมูลของคุณสมบัติต่างๆ
electrostatic precipitator can reduce dust in the rice mill. ของฝุ่นละอองที่เกิดขึ้นได้ดังนี้

Keywords: cyclone, electrostatic, precipitator, rice mill, dust 2.1.1 สาเหตุของการเกิดฝุ่นละอองในอากาศ


1) ฝุ่นละอองที่เกิดขึ้นในขั้นตอนของการสีข้ าวบริเวณลานตาก
1. บทนา ข้าวเปลือก เป็นฝุ่นละอองที่เกิดขึ้นจากการกระทบของเมล็ดข้าวขณะสี
ที่ ผ่า นมามีนัก วิจัย หลายท่า นได้ท าการศึก ษาวิธีก ารดัก จั บ ฝุ่นและ ข้าว ตลอดจนกระบวนการแยกข้าวเปลือก
สร้างเครื่องดักจับฝุ่น ซึ่งมีส่วนในการรักษาสุขภาพของคนในชุมชน และ 2) ฝุ่นที่เกิดจากกระบวนการขนส่งผลิตภัณฑ์
เป็นการดูแลรักษาสิ่งแวดล้อม ชญาศักดิ์ รัตนโชติ ,พีระพงศ์ ทีฑสกุลและ
ยุทธนา ฏิระวณิชย์กุล (ม.ป.ป.) [1] ได้ศึกษาและสร้างเครื่องตกตะกอน

คณะวิศวกรรมศาสตร์ มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีราชมงคลธัญบุรี 4-6 พฤศจิกายน 2558 164


การประชุมสัมมนาเชิงวิชาการ
รูปแบบพลังงานทดแทนสู่ชมุ ชนแห่งประเทศไทยครั้งที่ 8
The 8th Thailand Renewable Energy for Community Conference

2.1.2 ผลกระทบของฝุ่นละอองจากโรงสีข้าว อนุภ าคฝุ่นขนาดเล็ก จะเคลื่อ นที่ผ่า นแผงดักฝุ่นของชุดดัก ฝุ่นด้ว ยไฟฟ้ า


1) ผลกระทบจากฝุ่นละอองที่มีต่อสุขภาพมนุษย์ สิ่งที่ปนเปื้อน สถิตย์ ซึ่งภายในแผงจะมีการสร้างสนามไฟฟ้าสถิตที่มีขั้วบวกและขั้วลบ
เข้ามาในอากาศจะทาให้คุณภาพของอากาศเปลี่ยนไป สิ่งแปลกปลอมต่างๆ โดยการจ่ายไฟฟ้ากระแสตรงเข้ามา ฝุ่นที่มีอนุภาคเป็นประจุลบจะติดอยู่
เหล่านี้อาจอยู่ในรูปแบบของฝุ่นละออง ควัน ไอ หรือปริมาณก๊าซที่ผิดปกติ กับแผ่นที่ถูกต่อกับไฟฟ้ากระแสตรงขั้วบวกและมีแรงผลักเสริมจากแผ่นที่
ไป ถ้ า สิ่ งปนเปื้ อ นมี ป ริม าณมากพอ และเกิด อั น ตรายต่ อ สิ่งมีชี วิต หรือ ต่อด้วยไฟฟ้ากระแสตรงขั้วลบ โดยแผงของชุดดักฝุ่นด้วยไฟฟ้าสถิตย์มี
รบกวนการดารงชีวิตของมนุษย์ได้ การออกแบบพิเศษให้มีผนังของแผงเป็นผิวขรุขระเพื่อให้เกิดการโคโรน่าทา
2) ผลกระทบในส่ ว นที่ เกี่ ย วกั บ ขนาดของฝุ่น ในการพิ จ ารณา ให้ ช่ ว ยในการจั บ ฝุ่ น ได้ ง่า ยขึ้ น ในแรงดั นไฟฟ้ ากระแสตรงไม่ สู งมาก เมื่ อ
ผลกระทบที่มีต่อมนุษย์จากฝุ่นละอองขนาดต่างๆ นั้น จากการศึกษาต่างๆ อากาศออกจากชุดดักฝุ่นแบบไฟฟ้าสถิตจะมีปริมาณฝุ่นที่ออกน้อยมาก
สรุปว่าฝุ่นขนาดใหญ่กว่า 0.1 ไมครอน มัก จะติดอยู่ในจมูก และทางเดิน
อากาศส่วนบนเกือบทั้งหมด ส่วนฝุ่นที่มีขนาดเล็กกว่า 10 ไมครอน จะผ่าน 3.1 ส่วนประกอบเครื่องดักฝุ่นด้วยไซโคลนและไฟฟ้าสถิต
เข้าไปถึงหลอดลมในปอด บางส่วนเข้าถึงอวัยวะส่วนอื่นของปอดได้ และ ในการออกแบบเครื่องดักฝุ่นได้มีการแบ่งการออกแบบทั้งหมดเป็น 3
ฝุ่นพวกนี้อาจถูกกาจัดออกไปโดยกลไกการทางานของปอด สาหรับฝุ่นที่มี ส่วน ได้แก่ ชุดดักฝุ่นด้วยไซโคลน ชุดเพิ่มประจุ ชุดดักฝุ่นด้วยไฟฟ้าสถิต
ขนาดเล็ก กว่า 0.1 ไมครอน จะสามารถผ่านเข้าออกปอดได้เช่นเดียวกับ
ก๊าซ และอาจติดอยู่ในปอดบ้างเล็กน้อย ดังนั้นอาจแบ่งฝุ่นที่มีผลกระทบต่อ 3.1.1 ชุดดักฝุ่นด้วยไซโคลน
ร่างกายได้ 3 ขนาด คือ ฝุ่นที่มีขนาดใหญ่กว่า 10 ไมครอน ฝุ่นที่มีขนาด ชุดดักฝุ่นด้วยไซโคลน (แสดงดังรูปที่ 2) เป็นการออกแบบขนาด
ตั้งแต่ 0.1 – 10 ไมครอน ฝุ่นที่มีขนาดเล็กกว่า 0.1 ไมครอน ตรงบริเวณต่าง ๆ ของไซโคลน ซึ่งการคานวณหาอัตราการไหลของอากาศ
และขนาดพื้นที่ทางลมเข้าของไซโคลนต้องกาหนดขนาดของไซโคลน โดย
3. ขั้นตอนการดาเนินงาน ได้ออกแบบให้ขนาดเส้นผ่าศูนย์กลาง (DC) เท่ากับ 20 cm
เครื่องดักจับฝุ่นเครื่องนี้ใช้หลักการของแรงเหวี่ยงหนีศูนย์กลางด้วย
ถังไซโคลนซึ่งจะดักฝุ่นที่มีอ นุภาคขนาดใหญ่ ไว้ ประกอบกับ มีการดักฝุ่น 20 cm
ด้ว ยไฟฟ้ า สถิ ต ย์ซึ่ งเป็ น การดั ก ฝุ่ น ที่ มีอ นุ ภ าคขนาดเล็ก โดยมี ห ลัก การ
ทางานดังนี้ การทางานแบ่งออกเป็น 3 ส่วน ได้แก่ ชุดดักฝุ่นด้วยไซโคลน 5 cm 6 cm
8 cm
ชุดเพิ่มประจุไฟฟ้าและชุดดักฝุ่นด้วยไฟฟ้าสถิต ตามแสดงในรูปที่ 1
5.8 cm

30 cm

6 cm

รูปที่ 2 ขนาดของถังไซโคลน

3.1.2 ชุดเพิ่มประจุไฟฟ้า
เมื่ อ กระแสก๊ า ซที่ มี อ นุ ภ าคฝุ่ น ผสมเคลื่ อ นผ่ า นชุ ด เพิ่ ม ประจุ
รูปที่ 1 โครงสร้างโดยรวมของเครื่องดักจับฝุ่น อนุ ภ าคฝุ่ น จะมี ป ระจุ ส ถิ ต และเมื่ อ เคลื่ อ นตั ว ไปตามกระแสก๊ า ซเข้ า สู่
ไซโคลนซึ่งผนังไซโคลนจะเป็นอิเล็ก โทรดขั้นกราวนด์ จะเกิดแรงดูดทาง
จากรูป ที่ 1 อนุ ภ าคฝุ่ น จะถู ก ดูด เข้ า เครื่อ งด้ว ยเครื่อ งดู ด อากาศ ไฟฟ้าสถิตช่วยให้ฝุ่นเคลื่อนเข้าสู่ผนังไซโคลน และจะเคลื่อนที่ตามทิศทาง
(Blower) ให้กาลังดันเข้าไปผ่านฟินเตอร์แบบหยาบก่อนที่จะเข้าไปในชุด ของกระแสก๊าซและตกลงสู่ถังเก็บฝุ่นด้านล่างของไซโคลน ส่วนก๊าซสะอาด
เพิ่มประจุ เนื่องจาก สภาวะปกติของอนุภาคฝุ่นเป็นลบ ชุดเพิ่มประจุจะ จะไหลออกทางด้านบนของไซโคลนแบบอิเล็กโทรดทรงกระบอกซ้อนแกน
ช่วยดักฝุ่นที่มีประจุบวก ทาให้ฝุ่นที่เป็นประจุบวกเกาะติดกับชุดเพิ่มประจุ ร่ ว ม โดยมี ลั ก ษณะทรงกระบอกซ้ อ นกั น อาศั ย จุ ด ศู น ย์ ก ลางเดี ย วกั น
และทาให้อนุภาคประจุลบสามารถเคลื่อนที่ผ่านไปยังชุดดักฝุ่นด้วยไซโคลน วัตถุ ป ระสงค์เพื่ อ ต้อ งการเพิ่ มประจุ ไฟฟ้ า ให้ อ นุ ภ าคฝุ่ นจึ งออกแบบให้
ชุดดักฝุ่นด้วยไซโคลนจะใช้หลักการของแรงเหวี่ยงหนีศูนย์กลางจะเหวี่ยงที่ อิเล็กโทรดมีค่าสนามไฟฟ้าสม่าเสมอ โดยใช้หลักมิติที่เหมาะสม โครงสร้าง
อนุภาคฝุ่นที่มีน้าหนักมากเหวี่ยงไปอยู่ตามบริเวณขอบของชุดดักฝุ่นด้วย ชุดอิเล็กโทรดซ้อนแกนร่วมแสดงดังรูปที่ 3
ไซโคลน ซึ่งจะมีการจ่ายไฟฟ้ากระแสตรงขั้วบวกเข้าที่บริเวณขอบชุดดักฝุ่น
ด้ว ยไซโคลน สามารถช่ ว ยให้ ดั ก ฝุ่ น ที่ มี ป ระจุ ล บได้ ง่า ยมากยิ่งขึ้ น ตาม r1

หลัก การของสนามแม่เหล็กคือ ขั้ วที่เหมือนกันจะมีการผลักกัน แต่ขั้ว ที่


ต่างกันจะมีการดูดกัน อนุภาคฝุ่นที่มีขนาดเล็กและอากาศจะถูกหมุนอยู่ r0

บริเวณแกนกลางและถูกผลักด้วยกาลังดันภายในชุดดักฝุ่นด้วยไซโคลน ให้
ออกบริเวณด้านบนของชุดดัก ฝุ่นด้วยไซโคลน ไปยังชุดดัก ฝุ่นด้วยไฟฟ้า
สถิ ต ย์ ที่ มี ก ารดั ก ฝุ่ น ที่ มี อ นุ ภ าคเล็ ก โดยท างานในหลั ก การทางไฟฟ้ า รูปที่ 3 โครงสร้างชุดอิเล็กโทรดซ้อนแกนร่วม

คณะวิศวกรรมศาสตร์ มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีราชมงคลธัญบุรี 4-6 พฤศจิกายน 2558 165


การประชุมสัมมนาเชิงวิชาการ
รูปแบบพลังงานทดแทนสู่ชมุ ชนแห่งประเทศไทยครั้งที่ 8
The 8th Thailand Renewable Energy for Community Conference

3.1.3 ชุดดักฝุ่นไฟฟ้าสถิตแบบอิเล็กโทรดระนาบ
เนื่ อ งจากฉนวนของชุด ดั ก ฝุ่ น ไฟฟ้ า สถิ ต เป็ น อากาศ เป็ น ชนิ ด
ฉนวนชั้นเดียวสามารถออกแบบด้วยสมการของสนามไฟฟ้าไม่สม่าเสมอ
เนื่องจากมีการนาแท่งปลายแหลมมาตัดกันแผ่นอิเล็กโทรดเพื่อช่วยให้เกิด
โคโรน่า ทาให้มีการดักจับฝุ่นละอองได้ดีขึ้นมีการออกแบบ ดังรูป 4

5 cm

รูปที่ 6 วงจรสร้างแรงดันสูงกระแสตรง
r=2.9 cm
40 cm
4. ผลการทดลอง
4.1 การทดสอบขีดความสามารถในการดักฝุ่นของไซโคลน
5 cm เป็นการทดสอบอุปกรณ์ในขั้นแรกโดยการนาฝุ่นมาผสมกับอากาศ
60 cm
แล้ว ปล่อ ยเข้ า สู่ถั งไซโคลน ถั งไซโคลนนั้น จะมีห น้ าที่ คือ ดัก ฝุ่น ด้ว ยแรง
40 cm
เหวี่ยงหนีศูนย์โดยฝุ่นที่ดักได้จะตกลงด้านล่างของไซโคลนลงในถุงเก็บฝุ่น
และฝุ่นส่วนหนึ่งซึ่งมีขนาดเล็กและไซโคลนไม่สามารถดักได้จะไหลไปตาม
รูปที่ 4 ชุดดักฝุ่นด้วยหลักการไฟฟ้าสถิต กระแสก๊าซออกทางด้านบนของไซโคลน เพื่อเคลื่อนที่ไปยังชุดเพิ่มประจุ
ไฟฟ้าต่อไปในทรงกระบอกซ้อนแกนร่วม ผลการทดสอบความสามารถใน
การดักฝุ่น แสดงในตารางที่ 1
0.8 cm 1.2 cm
ตารางที่ 1 ปริมาณฝุ่นที่ออกจากชุดเพิ่มประจุ
ครั้งที่ทดสอบ ปริมาณฝุ่นที่วัดได้ (mg/m3)
1 8.86
2 7.02
3 7.32
เฉลี่ย 7.73

เมื่ อ ทดสอบจ่ า ยฝุ่ น เข้ า ถั ง ไซโคลนโดยปริ ม าณฝุ่ น เข้ า ถั งไซโคลน


รูปที่ 5 ขนาดของขั้วอิเล็กโทรด ประมาณ 50 g / m3 จะมีปริมาณฝุ่นขาออกจากถังไซโคลนโดยทาการ
ทดลอง 3 ครั้งได้ค่าเฉลี่ย 7.73 mg / m3
จากรูปที่ 5 เป็นการบอกถึงระยะห่างของการวางแผ่นอิเล็กโทรดทั้ง
ระนาบแบบเรียบและระนาบแบบปลายแหลม โดยมีลักษณะการวางแผ่น 4.2 การทดสอบการดักจับฝุ่นของชุดไซโคลนและชุดเพิ่มประจุ
อิเล็กโทรด ดังรูปที่ 6 เมื่อทราบค่าปริมาณฝุ่นเมื่อออกจากชุดไซโคลนจะทดสอบชุดเพิ่ม
ประจุร่วมกับชุดไซโคลนเพื่อ จะได้ทราบปริมาณฝุ่นก่อนจะเข้าฝุ่นดักฝุ่น
ด้วยไฟฟ้าสถิต โดยจะทดสอบจ่ายฝุ่นปริมาณ 50 g / m3 และปรับระดับ
แรงดันเข้าไปที่ 220 V แล้วทาการจ่ายฝุ่นวัดปริมาณฝุ่นที่ออกจากชุดเพิ่ม
ประจุ เพื่อให้ทราบว่าฝุ่นจะถูกดักจับที่ชุดเพิ่มประจุ ซึ่งได้ทาการทดสอบ
3 ครั้งแล้วหาค่าเฉลี่ย ผลการทดสอบการดักจั บฝุ่นของชุดไซโคลนและชุด
เพิ่มประจุแสดงในตารางที่ 2

ตารางที่ 2 ปริมาณฝุ่นที่ออกจากชุดไซโคลนและชุดเพิ่มประจุ
รูปที่ 6 ลักษณะการวางแผ่นอิเล็กโทรด ครั้งที่ทดสอบ ปริมาณฝุ่นที่วัดได้ (mg/m3)
1 6.47
2 4.81
3.1.4 วงจรสร้างแรงดันสูงไฟฟ้ากระแสตรง 3 5.66
การสร้ า งแรงดั น สู ง ไฟฟ้ า กระตรงแบบขั้ น บั น ไดจากแรงดั น เฉลี่ย 5.64
220 VAC ขึ้นมาเป็ น 10000 VDC จะมีก ารคานวณจ านวนชั้นที่เหมาะสม
โดยแรงดั น ขาเข้ า ค านวณจากแรงดั น ที่ อ อกจากหม้ อ แปลง 1000 VAC
วงจรสร้างแรงดันสูงกระแสตรงกระแสตรงแสดงดังรูปที่ 6

คณะวิศวกรรมศาสตร์ มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีราชมงคลธัญบุรี 4-6 พฤศจิกายน 2558 166


การประชุมสัมมนาเชิงวิชาการ
รูปแบบพลังงานทดแทนสู่ชมุ ชนแห่งประเทศไทยครั้งที่ 8
The 8th Thailand Renewable Energy for Community Conference

จากการทดสอบชุ ด ดัก ฝุ่ น ด้ ว ยไซโคลนมี ป ริ ม าณฝุ่ น ขาออกเฉลี่ ย 5. สรุป


7.73 mg/m3 เมื่อเพิ่มชุดเพิ่มประจุเข้าไปทาให้ปริมาณฝุ่นขาออกมีปริมาณ งานวิจัยนี้นาเสนอเครื่องดักจับฝุ่นด้วยไซโคลนและไฟฟ้าสถิตสาหรับ
ลดลงโดยค่าเฉลี่ยอยู่ที่ 5.64 mg/m3 จึงทราบได้ว่าฝุ่นบางส่วนจะติดอยู่กับ โรงสีข้าว จากการทดสอบชุดไซโคลนจะสามารถดักจับฝุ่นที่มีขนาดใหญ่ได้
ชุดเพิ่มประจุ ซึ่งถ้าฝุ่นมีปริมาณมากทาให้ประสิทธิภาพในการแตกตัวของ ดี จากการวัดปริมาณฝุ่นขาออกจากไซโคลนมีปริมาณฝุ่นเฉลี่ย 7.3 mg/m3
อนุภาคภายในชุดเพิ่มประจุลดลง ถังไซโคลนที่มีขนาดใหญ่จะมีความสามารถมากกว่าไซโคลนขนาดเล็ก ทั้งนี้
ต้องพิจารณาปริมาณลมขาเข้าถังไซโคลนให้มีความเหมาะสมกับถังไซโคลน
4.3 การทดสอบการดักฝุ่นของเครื่องดักฝุ่นด้วยไซโคลนและ ฝุ่นที่ออกจากชุดดักจับฝุ่นด้วยไซโคลนไปยังชุดเพิ่มประจุ เพื่อทาให้ฝุ่นเกิด
ไฟฟ้าสถิตที่ระดับแรงดันต่าง ๆ การไอออไนเซชั่นเป็นประจุ หรือการแตกตัวของอากาศ ความสามารถใน
เป็นการทดสอบประสิทธิภาพการดักฝุ่นที่ระดับแรงดันต่าง ๆ ของ การแตกตัวของอากาศขึ้นอยู่กับผิวเล็กโทรด ถ้าผิวขุรขระจะสามารถแตก
เครื่อ งดัก ฝุ่น ด้ว ยไซโคลนและไฟฟ้ า สถิ ต โดยท าการปรับ แรงดัน ขาเข้ า ตัวได้ดีกว่าผิวเรียบ เมื่อพิจารณาปริมาณแรงดันถ้าแรงดันสูงจะสามารถทา
เพิ่มขึ้ นครั้งละ 10 V วัดปริมาณฝุ่นขาออกจากเครื่องดักฝุ่นด้วยไซโคลน ให้เกิดการแตกตัวได้ดีกว่าแรงดันน้อย และเมื่อพิจารณาระยะห่างระหว่าง
และไฟฟ้าสถิตทุกครั้งที่ปรับแรงดันจะทาการใส่ฝุ่นในตัวจ่ายฝุ่นที่ปริมาณ ขั้วของทรงกระบอกซ้อนแกนร่วม ระยะห่างน้อยจะมีความสามารถในการ
50 g /m3 ผลการทดสอบแสดงดังในรูปที่ 7 แตกตัวได้ดีกว่าที่ระยะห่างมาก นอกจากนี้ชุดเพิ่มประจุยังช่วยทาให้อากาศ
เกิ ดการหมุ นขณะออกจากชุ ดเพิ่ มประจุ และที่ ระดับ แรงดัน สูงกว่า จะ
สามารถดักจับฝุ่นได้ดีกว่าที่ระยะแกปเท่ากัน เนื่องจากมาความห่างของ
สนามไฟฟ้าขั้วบวก ขั้วลบ น้อยกว่า จะส่งผลให้ปริมาณฝุ่นขาออกจากชุด
ดัก ฝุ่ น ด้ ว ยไฟฟ้ า สถิ ต มี ป ริ มาณฝุ่ น เฉลี่ ย จากการทดสอบเท่ า กั บ 0.909
mg/m3 เป็ น ปริม าณฝุ่ นที่ ห ลงเหลือ จากเครื่อ งดั ก ฝุ่น ด้ ว ยไซโคลนและ
ไฟฟ้าสถิต

6. กิตติกรรมประกาศ
งานวิจัย เรื่อ งเครื่องดักจับฝุ่นด้วยไซโคลนและไฟฟ้าสถิตสาหรับ โรงสี
ข้ าวเป็ นโครงการที่จั ด ทาขึ้ น โดยได้รับ การนั บ สนุน จากเงิน งบประมาณ
ประจาปี 2559 จากสานักงานคณะกรรมการวิจัยแห่งชาติ โครงการวิจัยนี้
ด าเนิ น การและส าเร็ จ ไปได้ ด้ ว ยดี คณะผู้ วิ จั ย ขอขอบคุ ณ ภาควิ ช า
วิศวกรรมไฟฟ้า คณะวิศวกรรมศาสตร์ มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีราชมงคล
ธัญบุรี ที่เอื้อเฟื้อสถานที่ในการ ทางานวิจัยในครั้งนี้
รูปที่ 7 ปริมาณฝุ่นที่วัดได้ในระดับแรงดันต่าง ๆ
เอกสารอ้างอิง
4.4 การทดสอบไซโคลนร่วมกับชุดเพิ่มประจุไฟฟ้าและชุดดัก [1] ชญาศั ก ดิ์ รั ต นโชติ ,พี ร ะพงศ์ ที ฑ สกุ ล ,ยุ ท ธนา ฏิ ร ะวณิ ช ย์ กุ ล
ฝุ่นด้วยไฟฟ้าสถิต “เครื่องตกตะกอนเชิงไฟฟ้าสถิต สาหรับการดักจับเขม่าจากการ
ในการทดสอบชุดไซโคลนร่วมกับชุดเพิ่มประจุไฟฟ้าและชุดดักจับ เผาไหม้ไม้ฟืน,” รวมบทความวิชาการการประชุมวิชาการเครือข่าย
ฝุ่นด้วยไฟฟ้าสถิตแบบอิเล็กโทรด เพื่อหาขีดความสามารถในการดักฝุ่นเมื่อ วิศวกรรมเครื่องกลแห่งประเทศไทยครั้งที่ 22. ม.ป.ป.
ทางานร่วมกัน ผลการทดสอบแสดงดังตารางที่ 3 จากการทดสอบพบว่ามี [2] พงษ์สวัสดิ์ คชภูมิ. เทคนิคใหม่สาหรับการเพิ่มประสิทธิภาพตัวดักฝุ่น
ปริมาณฝุ่นหลงเหลือจากเครื่องดักจับฝุ่นด้วยไซโคลนและไฟฟ้าสถิตสาหรับ แบบไซโคลนโดยใช้ไฟฟ้าสถิต, วิทยานิพนธ์วิศวกรรมศาสตร
โรงสีข้ าว มีป ริมาณ 0.8907 mg/m3 ถือ ว่าอยู่ในเกณฑ์ที่กาหนดสาหรับ มหาบัณฑิต. สาขาวิศวกรรมไฟฟ้า คณะวิศวกรรมศาสตร์ สถาบัน
โรงสีข้าว สาเหตุที่ยังมีฝุ่นหลงเหลืออยู่บางส่วน เนื่องจากขนาดของเครื่อง เทคโนโลยี พระจอมเกล้าเจ้าคุณทหารลาดกระบัง, 2549.
ดั ก จั บ ฝุ่ น ด้ ว ยไซโคลนและไฟฟ้ า สถิ ต ส าหรับ โรงสี ข้ า วมี ข นาดเล็ ก จึ ง มี [3] ประวิทย์ ลี้เหมือดภัย. เครื่องตกตะกอนไฟฟ้าสถิตสาหรับการกาจัด
ประสิทธิภ าพต่ากว่าเครื่อ งที่มีขนาดใหญ่ และจานวนแผ่นอิ เล็ก โทรดมี อนุภาคไอเสียจากเตาเผาชีวะมวล. วิทยานิพนธ์วิศวกรรมศาสตร
จานวนน้อยเกินไป เมื่อดักจับฝุ่นเป็นเวลา 1 ชั่วโมงแล้วหยุดเครื่องฝุ่นที่ มหาบัณฑิต. สาขาวิศวกรรมเครื่องกล บัณฑิตวิทยาลัย
เกาะตามแผ่นอิเล็กโทรดจะตกมาติดที่น้ามันทาให้เกิดการเปลี่ยนสภาพสี มหาวิทยาลัยเชียงใหม่, 2553.
ของน้ามันและมีตะกอนของฝุ่นผสมอยู่ [4] ศิริกัลยา สุวจิตตานนท์. มลภาวะอากาศ. 1000 เล่ม. พิมพ์ครั้งที่ 2.
กรุงเทพฯ: สานักพิมพ์มหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร์, 2544.
ตารางที่ 3 ผลการทดสอบการวัดปริมาณฝุ่น เกี่ยวกับผู้วิจัย
ครั้งที่ ปริมาณฝุ่น ปริมาณฝุ่น ปริมาณฝุ่น
บริเวณทดสอบ ที่จ่าย ออกจากเครื่อง ผู้ช่วยศาสตราจารย์ ดร.สุรินทร์ แหงมงาม
1 0.016 mg/m3 50 g/m3 0.959 mg/m3 ปั จ จุ บั น เป็ น อาจารย์ ป ระจ าภ าควิ ช า
2 0.017 mg/m 3
50 g/m 3
0.850 mg/m3 วิ ศ วกรรมไฟฟ้ า คณะวิ ศ วกรรมศาสตร์
3 0.022 mg/m3 50 g/m3 0.919 mg/m3 มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีราชมงคลธัญบุรี
เฉลี่ย 0.0183 mg/m3 50 g/m3 0.909 mg/m3

คณะวิศวกรรมศาสตร์ มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีราชมงคลธัญบุรี 4-6 พฤศจิกายน 2558 167

You might also like