You are on page 1of 24

คนทางาน (Workazine) วารสารออนไลน์ของคนทางานเพื่อคนทางาน (ฉบับที่ 13 ประจาเดือนมกราคม 2554)

อัตราคนว่างงานพุ่ง 205 ล้านคน !!!

ความเคลื่อนไหวแรงงานโลก [หน้า 2] รายงานพิเศษ >> ILO เผยอัตราคนว่างงานปี 2010 พุ่ง 205 ล้านคน
[หน้า 5] รายงานพิเศษ >> วิพากษ์ "ประชาวิวัฒน์" ฝนตกไม่ทั่วฟ้า หวั่นแค่เครื่องมือทางการเมือง [หน้า 7]
บทความ >> 15 ปี คดีทอผ้า: สังคมไทยได้อะไร? กับค่าทดแทนที่เป็นธรรม [หน้า 11] รายงานพิเศษ >>
แรงงาน/เอ็นจีโอเผยประเด็นสุขภาพ “สหภาพแรงงาน” ต้องขับเคลื่อน แนะให้บรรจุในข้อเรียกร้อง [หน้า 14] จับ
ตาประเด็นร้อน [หน้า 17] ความเคลื่อนไหวแรงงานไทย [หน้า 19] คนทำงำน มกรำคม 2554 >> 1
ความเคลื่อนไหวแรงงานโลก >>

คนงานตามเมืองท่าของอิ สราเอลหยุดงานประท้วง วันหยุดชดเชย 1 วันหลังจากทีพ่ วกเขาต้องทางานในวันหยุดดังกล่าว


นอกจากนี้ พนักงานของสายการบินบริตชิ แอร์เวย์ส ก็ข่วู ่าจะผละงาน
3 ม.ค. 54 - เมืองท่าหลายแห่งของอิสราเอลเป็ นอัมพาตในวันนี้
ประท้วงเป็ นเวลา 9 วัน ซึง่ จะครอบคลุมวันหยุดเทศกาลอีสเตอร์และ
หลังจากคนงานหยุดงานประท้วงเรียกร้องค่าจ้างเพิม่ ตัวแทนสหภาพ
วันอภิเษกสมรสของเจ้าชายวิลเลียมด้วย
แรงงานออกแถลงการณ์ ทางสถานีว ิทยุแห่งหนึ่งว่า คนงานประมาณ
3,500 คนของเมือ งท่ า ไฮฟา ทางเหนื อ และเมือ งท่ า แอชดอด ทาง สหภาพแรงงานรายใหญ่ญี่ปุ่นมันใจปั ่ ญหาทุกอย่างคลี่คลายใน
ภาคใต้ของทะเลเมดิเตอร์เรเนียนและเมืองท่าไอลัตของทะเลแดงได้ อีก 30 ปี
หยุดงานทุก ชนิด ซึง่ รวมถึงการขนส่งทางเรือด้วย พวกเขาต้องการให้
18 ม.ค. 54 - ผลการสารวจความคิดเห็นซึง่ จัดทาโดยสมาพันธ์สหภาพ
รัฐบาลเพิม่ เงินอีกร้อยละ 5 แต่จนถึงขณะนี้กระทรวงการคลังยังปฏิเสธ
การค้าของญีป่ นุ่ (Rengo) ซึง่ เป็ นสหภาพแรงงานรายใหญ่สุดในญี่ป่นุ
ข้อเรียกร้องดังกล่าว.
พบว่า 51.6% ของชาวญีป่ นุ่ เชือ่ ว่า สภาวการณ์โดยรวมของประเทศจะ
คนงานป่ วย 62 คนจากสารเคมีรวที ั ่ ่จีน ดีข้นึ ในช่ ว ง 30 ปี ข้า งหน้ า ในขณะที่ 93% รู้สกึ วิต กกัง วลเกี่ย วกับ
อนาคตของตนในบางครัง้ โดยรายงานของ Rengo ระบุว่า หลายคนมี
7 ม.ค. 54 - สานักข่าวซินหัวของทางการจีนรายงานว่า สารเคมีรวไหล ั่
ความรู้สกึ กังวล เนื่องจากผูน้ าทางการเมืองและธุรกิจยังไม่สามารถ
ทีโ่ รงงานผลิตยาแห่งหนึ่งทางภาคตะวันออกของจีน ทาให้มผี ปู้ ่วย 62
วางแผนอนาคตของประเทศได้เป็ นทีน่ ่าพอใจ ต่อคาถามทีว่ ่าจะต้องใช้
คน ในจ านวนนี้ 37 คน ยัง คงรัก ษาตัว อยู่ ท่ีโ รงพยาบาลในวัน นี้
เวลานานแค่ไหนกว่าที่สภาวะทัวไปของญี ่ ่ปุ่นจะดีข้นึ 8.5% ตอบว่า
ภายหลังจากทีส่ ดู ดมสารเคมีระหว่างทางาน สาหรับสาเหตุการรัวไหล ่
ภายใน 1 ปี ในขณะที่ 32.6%ตอบว่า 5 ปี และ 46.5% ตอบว่า 10 ปี
ของสารเคมีกาลังอยูใ่ นระหว่างการสอบสวน สือ่ จีนรายงานว่า สารเคมี
ส่วนคาถามทีว่ า่ อะไรคือสิง่ จาเป็ นต่อความเจริญก้าวหน้าของญี่ป่นุ ซึง่
ทีร่ วไหลเป็
ั่ นก๊าซพิษไร้สที ใ่ี ช้ในการผลิตยาฆ่าแมลง ยาแก้ปวด และยา
มีค าตอบให้เ ลือ กหลายค าตอบ 71.9% ตอบว่ า ความมัน่ คงในการ
ปฏิชวี นะ ซึง่ เกิดขึน้ ทีโ่ รงงานผลิตยาวันเป่ย ฟาร์มาซูตคิ อล ในมณฑล
ทางาน49% ตอบว่า ภาวะการเป็ น ผู้น าของผู้น าทางการเมือ ง และ
อานฮุย ทัง้ นี้อุบตั เิ หตุในสถานทีท่ างานทาให้มผี เู้ สียชีวติ ปี ละหลายพัน
48.7% ตอบว่าเศรษฐกิจทีด่ ขี น้ึ เกีย่ วกับคาถามถึงสิง่ ทีท่ าให้เกิดความ
คนในจีน ส่ว นหนึ่ ง เป็ น เพราะมาตรฐานควบคุม ความปลอดภัย ไม่
วิต กในชีว ิต ซึ่งมีห ลายคาตอบให้เ ลือ กเช่ น เดียวกัน 65.5% ตอบว่า
เข้มงวดและไม่ได้ฝึกอบรม พนักงานอย่างเพียงพอ
วิตกกังวลเกี่ยวกับชีวติ ของตนเองเมื่อมีอายุมากขึ้น 59.7% มีความ
สหภาพรถไฟ-การบิ น อัง กฤษขู่ 'สไตรก์ 'ในวัน อภิ เ ษกสมรส วิตกกังวลเกีย่ วกับรายได้ และ 54.5% ตอบว่าการมีรายรับเพียงพอกับ
'เจ้าชายวิ ลเลียม' รายจ่าย ทัง้ นี้ โพลล์ดงั กล่าวได้จากการสารวจความคิดเห็นชาวญี่ปุ่น
1,000 คน อายุระหว่าง 15-59 ปี ทางอินเทอร์เน็ต ในช่วงกลางเดือน
12 ม.ค. 54 - สหภาพแรงงานรถไฟอัง กฤษขู่จะเดินขบวนประท้วงใน
ธันวาคมทีผ่ า่ นมา
วันที่ 29 เมษายนนี้ซ่ึง ตรงกับวันอภิเษกสมรสของเจ้าชายวิลเลีย ม
และเคต มิดเดิลตัน เพือ่ เรียกร้องขอขึน้ ค่าจ้างเพิม่ ขึน้ อีก 3 เท่าและขอ

2 << คนทำงำน มกรำคม 2554


จี น ระบุ โ รงงานแอปเปิ ลรัง้ ท้ า ยในการส ารวจการจั ด การ แผนนาเข้าแรงงานต่างชาติถูกคนในประเทศคัดค้านเพราะเห็นว่าแย่ง
สิ่ งแวดล้อม งานทา แย่งทีอ่ ยูอ่ าศัย แย่งการสาธารณสุขและแย่งพืน้ ทีใ่ ช้ระบบขนส่ง
มวลชนก็คงต้องเลือกเอาระหว่างถูกแย่งงานแย่งทีอ่ ยู่ อลิเซีย บาร์เซ
20 ม.ค. 54 - รายงานการสารวจด้านสิง่ แวดล้อมของจีนทีเ่ ผยแพร่วนั นี้
นา เลขาธิการผูบ้ ริหารของ ECLAC และ ฌอง มานิแนต ผูอ้ านวยการ
ระบุว่า บริษทั แอปเปิ ลของสหรัฐ ไม่ประสบความสาเร็จในการจัดการ
ILO ประจาภูมภิ าค กล่าวว่า หลายประเทศในภูมภิ าคควรใช้นโยบาย
ปญ ั หามลพิษ และสุ ข ภาพของพนั ก งานในโรงงานผลิ ต ชิ้น ส่ ว น
เศรษฐกิจมหภาคทีเ่ ข้มแข็งกว่าเดิม พร้อ มทัง้ พัฒนาความร่วมมือทาง
โทรศัพ ท์ไ อโฟนในจีน รายงานระบุ ว่า บริษัท แอปเปิ ล อยู่ใ นล าดับ
การเมืองทัง้ ในระดับภูมภิ าคและระดับโลก "หากภูมภิ าคให้ความสาคัญ
สุดท้ายของการสารวจบริษทั เทคโนโลยีขา้ มชาติ 29 แห่งเกีย่ วกับการ
กับ การพัฒ นาผ่ า นการเสวนาทางสัง คมและนโยบาย สาธารณะที่
จัดการด้านมลพิษและอันตรายต่อสุขภาพในสถานทีท่ างานในโรงงาน
เหมาะสม ก็มโี อกาสที่จะสร้างงานได้มากขึ้น สังคมมีความเสมอภาค
ทีต่ งั ้ อยู่ในจีน โดยองค์การนอกภาครัฐ หรือเอ็นจีโอ ด้านสิง่ แวดล้อม
มากขึน้ รวมทัง้ สามารถรักษาสิง่ แวดล้อมได้ " รายงานระบุ สานักข่า ว
ของจีนกว่า 30 แห่ง ได้พยายามมานานกว่า 1 ปี กดดันให้บริษทั ข้าม
ซินหัวรายงาน
ชาติร ับ ผิด ชอบผลกระทบต่ อ สิ่ง แวดล้อ มของประเทศมากยิ่ง ขึ้น
สถาบันกิจการสาธารณะและสิง่ แวดล้อม ซึง่ เป็ นองค์กรอิสระและเป็ น คนมาเลย์แ ห่ อ อกจากงานเลี้ ย งลู ก -ท างานบ้ า นเอง หลัง ขาด
ผูเ้ ขียนหลักในรายงานฉบับดังกล่าวระบุว่า บริษทั แอปเปิ ลไม่ทาตาม แคลนแรงงานทางานบ้าน
สัญญาด้านความรับผิดชอบต่อสังคมถึง 3 ด้าน คือ แรงงานบางส่วน
25 ม.ค. 54 - ชาวมาเลเซียหลายหมื่นครอบครัว กาลังเผชิญปญั หา
ได้ร ับ สารพิษ และพิก าร พื้น ที่ล ะแวกใกล้เ คีย งและชุ ม ชนมีม ลพิษ
ความวุ่น วายภายในบ้า น อัน เนื่ อ งมาจากขาดแคลนสาวใช้ ขณะที่
ปนเปื้ อน ขณะเดียวกันยังมีการละเมิดสิทธิ ผลประโยชน์ และศักดิศรี ์
มาเลเซียได้ช่อื ว่า เป็ นประเทศที่เสพติดแรงงานราคาถูกมายาวนาน
ของแรงงานด้วย ขณะเดียวกันรายงานได้ชมเชยบริษทั ฮิวเล็ตต์ -แพค
โดยมีชาวต่างชาติ เกือบ 2 ล้านคน ส่วนใหญ่มาจากอินโดนีเซีย ได้เข้า
การ์ด บริษทั บีที ผูใ้ ห้บริการด้านโทรคมนาคมของอังกฤษ บริษทั อัลคา
ไปขึน้ ทะเบียนทางานตามบ้าน , ร้านค้า , โรงงานและพืน้ ทีเ่ พาะปลูก
เทล-ลูเซนต์ บริษทั โวดาโฟน บริษทั ซัมซุง บริษทั โตชิบา บริษทั ชาร์ป
ในมาเลเซีย แต่กย็ งั มีอกี เป็ นจานวนมากทีเ่ ป็ นแรงงานผิดกฎหมาย ทา
และบริษทั ฮิตาชิ ที่ดาเนินการเปลีย่ นแปลงการปฏิบตั ทิ ่ไี ม่ดหี รือเพิม่
ให้ม าเลเซีย กลายเป็ น หนึ่ง ในประเทศที่นาเข้า แรงงานมากที่สุด ใน
การควบคุมดูแลการผลิต ในขณะทีบ่ ริษทั แอปเปิ ล ไม่สามารถปฏิบตั ิ
เอเชีย สาวใช้จากอินโดนีเซีย ที่ได้รบั ค่าแรงเพียงแค่เดือนละ 400 ริง
หรือ ตอบสนองต่ อ ความกัง วลดัง กล่ า ว เช่ น เดีย วกับ บริษัท โนเกีย
กิต หรือราว 3,900 บาท ต้องทางานโดยปราศจากกฎหมายดูแลสภาพ
บริษทั แอลจี บริษทั สิงเทล บริษทั โซนี และบริษทั อีรคิ สัน
การทางาน และมักจะตกเป็ นเหยือ่ การทารุณกรรม จนอินโดนีเซียต้อง
หวันสิ ่ งคโปร์ขาดแคลนแรงงาน ประกาศห้า มพลเมือ ง เดิน ทางไปท างานที่ม าเลเซีย ตัง้ แต่ เ ดือ น
มิถุนายน ปี 2552 รัฐบาลมาเลเซียและอินโดนีเซีย ได้เปิ ดการเจรจา
23 ม.ค. 54 - มีรายงานในสัปดาห์ท่ผี ่านมาว่า อัตราการเกิดของ
กันเพือ่ ทาข้อตกลงด้านแรงงาน เพือ่ ยับยัง้ ไม่ให้เกิดคดีรา้ ยแรงต่อสาว
ประชากรสิงคโปร์ช่วงปีทแ่ี ล้วลดลงต่าทุบสถิติ ค่าเฉลีย่ สตรีแต่ละคนมี
ใช้ ตัง้ แต่โดนข่มขืนไปจนถึงการโดนน้ าร้อนลวก หรือ เตารีดนาบ แต่
บุตรตลอดช่วงชีวติ อยู่ท่ี 1.16 คน ลดลงจากสถิตปิ ี 2552 อยู่ท่ี 1.22
การเจรจาต้องสะดุด เมือ่ ทางอินโดนีเซีย ได้เรียกร้องค่าแรงขัน้ ต่า ยืด
คน สาเหตุเพราะคู่สามีภรรยาเลือกมีบุตรเพียง 1 คนเพิม่ ขึน้ เรื่อย ๆ
อายุการห้ามพลเมืองเข้าไปทางานในมาเลเซีย ทาให้ครอบครัวชาว
เช่นเดียวกับกลุ่มคนเลือกใช้ชวี ติ อยู่คนเดียวมากขึ้นทัง้ เพศหญิงและ
มาเลเซีย เดือ นร้ อ น เพราะขาดผู้ช่ ว ยแม่ บ้า นเป็ น จ านวนมากถึง
เพศชาย สถาบันศึกษานโยบายของรัฐบาลระบุ ผลจากสถานการณ์
35,000 ครอบครัว แม่บ้านชาวมาเลเซียบางคน ต้องลาออกจากงาน
ดังกล่าวจะทาให้30 ปี ขา้ งหน้า สิงคโปร์จะไม่มแี รงงานทดแทน ทาให้
เพื่อ ดู แ ลบ้ า นและลู ก ๆ หลัง จากที่ ก่ อ นหน้ า นี้ เ คยมี ส าวใช้ ช าว
ต้องนาเข้า แรงงานต่างชาติเพื่อพัฒนาเศรษฐกิจ ข้อมูลปี 2553 ระบุ
อินโดนีเซีย 2 คน แต่หลังจากหมดสัญญาเมื่อปี 2553 ก็ยงั หาคนมา
กลุ่มประชากรชายวัย 30-34 ปี ยังโสดเพิม่ ถึง 43 เปอร์เซ็นต์ จากแค่
แทนไม่ได้ ปญั หาทีเ่ กิดขึน้ กับแม่บา้ นชาวมาเลเซียส่วนหนึ่งก็คอื การมี
33 เปอร์เซ็นต์ของเมื่อช่วงปี 2543 ส่วนกลุ่มประชากรหญิงโสดเพิม่
ศูนย์ดแู ลเด็กและผูป้ ว่ ยอยู่ไม่มากนัก ทาให้ส่วนใหญ่ตอ้ งดูแลกันเองที่
จาก 22 เปอร์เซ็นต์ เป็ น 31 เปอร์เซ็นต์ ในช่วงเวลาเดียวกัน อย่างไรก็
บ้าน ด้านสมาคมจัดหาสาวใช้ต่างชาติของมาเลเซีย ระบุว่า สาวใช้
ตาม รัฐบาลสิงคโปร์อยูร่ ะหว่างเร่งแก้ปญั หาด้วยการสนับสนุนเงินเลีย้ ง
ต่างชาติในมาเลเซียได้ลดจานวนลง จาก 3 แสนคน ก่อนทีอ่ นิ โดนีเซีย
ดู บุ ต ร และกระตุ้ น คู่ ส ามี ภ รรยาให้ มี บุ ต รมากกว่ า 1 คน แต่
จะห้ามพลเมืองเข้าไปทางานในมาเลเซีย เหลือเพียง 170,00 คน ใน
กระบวนการดังกล่าวต้องใช้เวลาอีกระยะหนึ่งจึงเห็นผล ขณะเดียวกัน
คนทำงำน มกรำคม 2554 >> 3
ปจั จุบนั เมื่อปี 2552 มีสาวใช้จากอินโดนีเซียเดินทางเข้าไปทางานใน และคาดว่ า เกือ บทุ ก เมือ งจะขึ้น ค่า แรงขัน้ ต่ า ด้ว ยเช่ น กัน โดยเมื่อ
มาเลเซีย ตกเดือนละ 3,500 คนแต่ปจั จุบนั เหลือเฉลี่ยเดือนละ 1 พัน สัปดาห์ทแ่ี ล้ว สภาหอการค้าอเมริกนั ในเซีย่ งไฮ้เปิดเผยว่า 85 บริษทั ที่
คน ทาให้ชาวมาเลเซีย 35,000 คน ต้องเดือดร้อน สานักจัดหางาน ได้ ตอบแบบสอบถามเชื่อว่าต้นทุนทีส่ งู ขึน้ กาลังทาให้จนี มีความสามารถ
พยายามหาแหล่งสาวใช้ใหม่จากกัมพูชา ฟิลปิ ปินส์ แต่กย็ งั ไม่เพียงพอ ในการแข่งขันลดลงเมือ่ เทียบกับประเทศกาลังพัฒนาประเทศอืน่ ๆ
ต่อความต้องการ รัฐบาลมาเลเซีย ไม่ยอมรับข้อเรียกร้องให้ลดอายุสาว
สหภาพแรงงานอี ยิ ปต์ นั ด หยุ ด งานประท้ ว งหวัง ระดมคน
ใช้นาเข้าจากกัมพูชา จากเดิม 21 ปี ให้เหลือ 18 ปี เพื่อเพิม่ จานวน
เดิ นขบวนได้ 1 ล้านคนต้านรัฐบาล
สาวใช้จากประเทศทีย่ ากจนแห่งนี้ ทีป่ กติจะได้ค่าแรงเดือนละ600 ริง
กิต ด้านกลุ่มเคลื่อนไหวเพื่อสิทธิของแรงงาน ระบุว่า มาเลเซียควร 31 ม.ค. 54 - ชาวอียปิ ต์ยงั คงชุมนุมในกรุงไคโร เมืองหลวงของอียปิ ต์
ตาหนิตวั เองทีข่ าดกฎหมายคุม้ ครองแรงงาน , ค่าแรงขัน้ ต่า และการ เป็ นวัน ที่ 7 ในวันนี้ และหนึ่ งในผู้จดั การชุมนุ ม บอกว่า พวกเขา
ทารุณกรรมสาวใช้ ซึง่ หลังจากอินโดนีเซียไม่ยอมส่งออกสาวใช้เมื่อปี ตัด สิน ใจเริ่ม การผละงานประท้ ว งอย่ า งไม่ มีก าหนดในวัน นี้ ด้ ว ย
2552 มาเลเซีย ได้ย ิน ยอมจะให้ส าวใช้มีว นั หยุด 1 วัน และให้เ ก็บ หลังจากมีเสียงเรียกร้องจากแรงงานทีโ่ รงงานแห่งหนึ่งในเมืองสุเอซ
หนังสือเดินทางเอง หลังจากก่อนหน้ านี้ นายจ้างจะยึดไว้เพื่อป้องกัน เมือ่ วาน นอกจากนี้เขาบอกด้วยว่าจะมีการเดินขบวนทีห่ วังระดมคนได้
การหลบหนี แต่ก ารเจรจาไม่บ รรลุ ผ ล เพราะอิน โดนี เ ซียเรียกร้อ ง 1 ล้านคนโดยใช้ชอ่ื ว่า "Million Man March" ในกรุงไคโร ในวันพรุ่งนี้ผู้
ค่าแรงขัน้ ต่าที่ 800 ริงกิต หรือราว 7,800 บาท โดยยกตัวอย่างสาวใช้ ชุมนุ มส่วนใหญ่ ยงั ปกั หลักอยู่ท่จี ตุรสั ทารีห์ใ นกรุง ไคโรนับตัง้ แต่ว นั
ในฮ่องกง ทีไ่ ด้คา่ แรงอย่างน้อย 460 ดอลล่าร์ หรือราว 13,800 บาท ศุกร์ทผ่ี ่านมา และวันนี้มมี ากถึง 50,000 คน พวกเขาประกาศจะไม่
ยอมไปไหนจนกว่าประธานาธิบดีฮอสนี มูบารักทีป่ กครองประเทศแบบ
จีนขึน้ ค่าแรงขัน้ ตา่ หลายเมือง
เผด็จการนาน 30 ปี จะยอมก้าวลงจากตาแหน่ ง ในการชุมนุ มเมื่อคืน
28 ม.ค. 54 - แหล่งข่าวจากสานักงานสถิตแิ ห่งชาติจนี เปิดเผยว่า ดัชนี วานนี้ มีผู้เ ข้า ร่ ว มมากถึง หลายหมื่น คนแม้ท างการได้ข ยาย เวลา
ราคาผูบ้ ริโภค (CPI) ในเดือนธ.ค.2553 ขยายตัวขึน้ 4.6% ต่อปี ส่วน เคอร์ฟิวเป็ นบ่าย 3 ถึง 8 โมงเช้าวันนี้ ขณะที่ยอดผูเ้ สียชีวติ จากการ
ดัชนี CPI ในปี 2553 ขยายตัวขึ้น 3.3% เมื่อเทียบกับจากระดับปี ประท้วงตลอดหนึ่งสัปดาห์เพิม่ เป็ น 150 คน ผูบ้ าดเจ็บราว 4,000 คน
2552ราคาอาหาร ซึ่งคิดเป็ นสัดส่วน 1 ใน3 ของตะกร้าสินค้าในการ และมีนักโทษแหกคุกและพวกปล้นสะดมถูกจับกุมตัวไว้ได้กว่า 3,100
คานวณดัชนี CPI ของจีนนัน้ พุ่งขึน้ ถึง 7.2% เมื่อเทียบเป็ นรายปี ในปี คน นอกจากนี้ชาวอียปิ ต์หลายครอบครัวในกรุงไคโร เริม่ กักตุนอาหาร
2553 หลายเมืองซึง่ เป็ นศูนย์กลางด้านการผลิตอย่างกวางตุง้ เซีย่ งไฮ้ น้าบรรจุขวด และสิง่ ของจาเป็ น หลังการประท้วงและจลาจลตลอดหนึ่ง
เทียนจิน และปกั กิง่ ได้ขน้ึ ค่าแรงในระดับตัวเลขสองหลัก หลังจากทีม่ ี สัปดาห์ทาให้เมืองที่มปี ระชาชนราว 18 ล้านคนตกอยู่ภาวะยุ่งเหยิง
การขึ้นค่าแรงไปเมื่อ ปี ท่ีแล้ว จนท าให้ต้นทุ นแรงงานสูง ขึ้น ส่งผลให้ ชายคนหนึ่งบอกว่ามีเงินสดเหลือเพียง 5,000 บาทและเขาพยายามซือ้
หลายบริษทั ทีผ่ ลิตสินค้าราคาถูกต้องย้ายฐานการผลิตไปยังประเทศที่ ข้าวของจาเป็ นไว้ตอนนี้เท่าทีย่ งั พยายามหาซื้อได้อยู่ ขณะทีโ่ รงเรียน
มีตน้ ทุนแรงงานต่าอย่างเวียดนามและอินโดนีเซียแทน อีกปจั จัยทีท่ า และร้านค้าปิ ดทาการ การจราจรเบาบาง ธนาคารพาณิชย์ปิดทุกแห่ ง
ให้ทางการตัดสินใจขึน้ ค่าแรงขัน้ ต่าคือ การขาดแคลนแรงงานในบาง ตู้เ อทีเ อ็ม จานวนมากถูกถอนเงินออกไปหมดแล้ว บางส่ว นถูกทุ บ
พื้นที่รวมถึงการชุมนุ มประท้วงของแรงงานที่ไม่พอใจค่าแรงที่ได้รบั ทาลายและขโมยเงินไป.

4 << คนทำงำน มกรำคม 2554


รายงานพิเศษ >>

ILO เผยอัตราคนว่างงานปี 2010


พุ่ง 205 ล้านคน

“องค์การแรงงานระหว่างประเทศ (ILO) เผยทั่วโลกมีผู้ว่างงานในปี


2010 มากถึ ง 205 ล้ า นคน ถื อ เป็ น สถิ ติ ค นว่ า งงานสู ง ที่ สุ ด ใน
ประวัติศาสตร์”

คนทำงำน มกรำคม 2554 >> 5


องค์การแรงงานระหว่างประเทศ (ILO) ออกมาเตือนว่า การฟื้นตัวจากภาวะถดถอยทางเศรษฐกิจของประเทศต่างๆ ทัว่
โลกในช่วงทีผ่ ่านมา อาจไม่ได้หมายความว่า จะมีการจ้างงานเพิม่ มากขึน้ เสมอไป เนื่องจากข้อมูลล่าสุดพบว่า จานวนคน
ว่างงานทัวโลกยั
่ งมีจานวนสูงถึง 205 ล้านคนในปีทผ่ี ่านมา ซึง่ ถือเป็ นสถิตคิ นว่า งงานทีส่ ูงทีส่ ุดในประวัตศิ าสตร์นับแต่ม ี
การสารวจมา

โดยอัตราว่างงานในปี 2010 อยู่ทร่ี ะดับ 6.2% ลดลง 0.1% จากปี 2009 รายงานระบุว่า แนวโน้มการจ้างงานในปี 2011
ยังคงอ่อนแอ โดยคาดว่าจะมีจานวนคนว่างงาน 203.3 ล้านคน ในขณะทีส่ ถานการณ์ดา้ นการจ้างงานซึง่ ได้รบั ผลกระทบ
จากวิกฤตการเงินนัน้ ยังฟื้ นตัวได้ชา้ นอกจากนี้ รายงานเสริมว่าการขยายตัวด้านการจ้างงานส่วนใหญ่ในปีน้ีมแี นวโน้ม
กระจุกตัวอยู่ในเอเชียใต้และเอเชียตะวันออกยกเว้นญี่ป่นุ จานวนคนว่างงานทัวโลกพุ
่ ่งแตะระดับสูงสุดที่ 205.2 ล้านราย
ในปี 2009 หรือ6.3% เมื่อเทียบกับช่วงก่อนเกิดวิกฤตการณ์ท่ี 177 ล้านคนในปี 2550 หรือ 5.6%สถานการณ์ด้านการ
จ้างงานทีด่ ขี น้ึ เล็กน้อยในปี 2010 ซึง่ เป็ นผลจากการขยายตัวทางเศรษฐกิจโลกทีแ่ ข็งแกร่ง 4.8%และผูว้ ่างงานไม่ลม้ เลิก
ความตัง้ ใจทีจ่ ะหางานใหม่

ั นาแล้วซึ่งรวมถึงญี่ปุ่นรัง้ อันดับ 1 ในกลุ่มประเทศที่มผี ู้ว่างงานสูงสุด 44.8 ล้านราย โดย 55%


ทัง้ นี้กลุ่มประเทศที่พฒ
หรือ 15.70 ล้านรายของจานวนคนว่างงานทัวโลกที ่ ่พุ่งสูงขึ้นนับตัง้ แต่ ปี 2007 อยู่ในกลุ่มประเทศที่พฒ
ั นาแล้ว โดย
แรงงานในภูมภิ าคนี้มสี ดั ส่วนเพียง 15% ของแรงงานทัวโลก ่ นอกจากนี้รายงานของ ILO ระบุด้วยว่ามีแรงงาน 631.9
ล้านคน หรือ 20.7% ของแรงงานทัง้ หมดทัวโลกที
่ ม่ รี ายได้ต่ากว่า 1.25 ดอลลาร์ต่อวัน

ต้นปี 2011 สหรัฐฯ เผยว่างงานพุ่ง 51,000 ราย

กระทรวงแรงงานสหรัฐเปิดเผยว่า จานวนผูข้ อรับสวัสดิการว่างงานครัง้ แรกในรอบสัปดาห์ทส่ี น้ิ สุด ณ วันที่ 22 ม.ค.พุ่งขึน้


51,000 ราย แตะระดับ 454,000 ราย ซึง่ เป็ นระดับสูงสุดนับตัง้ แต่ช่วงปลายเดือน ต.ค.ปี 2010 และเพิม่ ขึน้ มากกว่าที่
นักวิเคราะห์ส่วนใหญ่คาดว่าจะอยูท่ ร่ี ะดับ 405,000 รายส่วนจานวนผูข้ อรับสวัสดิการว่างงานโดยเฉลี่ย 4 สัปดาห์ ปรับตัว
เพิม่ ขึน้ 15,750 ราย แตะระดับ 428,750 ราย

เจ้าหน้าทีก่ ระทรวงแรงงานระบุว่า ปจั จัยทีท่ าให้จานวนผูข้ อรับสวัสดิการว่างงานเพิม่ ขึน้ อย่างมากในรอบสัปดาห์แรกของ


ต้นปี มาจากพายุหมิ ะทีโ่ หมกระหน่ าในหลายพืน้ ที่ของสหรัฐ โดยเฉพาะรัฐทีอ่ ยู่ทางตอนใต้ ซึ่ งส่งผลให้บริษทั หลายแห่ง
ต้องปิดทาการและเลย์ออฟพนักงาน.

6 << คนทำงำน มกรำคม 2554


รายงานพิเศษ >>

วิพากษ์ "ประชาวิวัฒน์" ฝนตกไม่ทั่วฟ้า


หวั่นแค่เครื่องมือทางการเมือง
รายงานโดย สานักข่าวประชาไท

“เวที แ รงงานนอกระบบวิ พ ากษ์ "ประชาวิ วั ฒ น์ " คนงานชี้ ยั ง ไม่


ครอบคลุมทุกกลุ่ม เอ็นจีโอ หวั่นไม่ยั่งยืนแค่เครื่องมือทางการเมือง
นักวิชาการเตือนอย่าลืมแก้ปัญหาโครงสร้างจ้างงาน”
คนทำงำน มกรำคม 2554 >> 7
เมื่อวันที่ 20 ม.ค. 54 ทีค่ ณะนิตศิ าสตร์ มหาวิทยาลัยธรรมศาสตร์ ภาคทีเ่ ป็ นทางการ ซึง่ เป็ นการจ้างงานแบบชัวคราว
่ โดยทีก่ ลับเป็ น
ท่าพระจันทร์ คณะเศรษฐศาสตร์ มธ. ร่วมกับสถาบันวิจยั สังคม การลดภาระนายจ้างและทาให้คนงานเสียเปรียบ
จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย คณะทางานวาระทางสังคม เครือข่าย
เสนอแยกส่วนประกันสังคมสาหรับใน-นอกระบบ
แรงงานนอกระบบและมูลนิธเิ พื่อการพัฒนาแรงงานและอาชีพ ร่วม
จัดเสวนาหัวข้อ "เสียงสะท้อนจากแรงงานนอกระบบ" โดยมีการ
นพ.ภูษิต ประคองสาย นักวิจยั อาวุโส สานักงานพัฒนานโยบาย
แสดงความเห็นต่อนโยบายประชาวิวฒ ั น์ของรัฐบาลอภิสทิ ธิ ์ เวชชา
สุขภาพระหว่างประเทศ กระทรวงสาธารณสุข กล่าวว่า จากข้อมูล
ชีวะ จากมุมมองของนักวิชาการและภาคประชาสังคม
อย่างไม่เป็ นทางการจากสานักงานสถิติแห่งชาติพบว่า ช่วงปี 49-
หวัน่ "ประชาวิ วฒ ั น์" ทาแรงงานนอกระบบกระจุกตัว 52 แรงงานนอกระบบมีแนวโน้มได้รบั อุบตั ิเหตุจากการทางาน
สูงขึน้ โดยแรงงานนอกระบบกว่า 30% ในเขตเมืองยอมจ่ายเงินค่า
ปทั มาวดี ซูซูกิ คณบดีคณะเศรษฐศาสตร์ มธ. ระบุว่า แรงงานทัง้ รักษาพยาบาลเอง แม้ว่าจะสามารถใช้สทิ ธิบตั รทองได้ สาเหตุคาด
ในและนอกระบบต่างอยู่ในระบบเศรษฐกิจเดียวกัน มีลกั ษณะที่ ว่ามาจากโรงพยาบาลในเมืองมีผใู้ ช้บริการจานวนมาก หากต้องรอ
เชื่อมโยงกัน การออกนโยบายใดๆ ก็จะส่งผลถึงกัน ดังนัน้ หากมี คิว ก็จ ะเสีย เวลางาน จึง ยิน ดีจ่ า ยเอง โดยใช้บ ริก ารร้า นขายยา
นโยบายเพื่อแก้ปญั หาแรงงานนอกระบบโดยไม่ได้คานึงถึงความ คลีนิกเอกชน ขณะที่แรงงานนอกระบบในต่างจังหวัดก็มี 15-18%
สมดุลของการ พัฒนาทัง้ ระบบ อาจเกิดปญั หาการกระจุกตัวของ ที่ยอมจ่ายเองเช่นกัน ซึ่งหากสามารถจัดระบบการให้บริก ารได้
แรงงานนอกระบบ โดยคนกลุ่มต่างๆ อพยพเข้ามาสู่ภาคแรงงาน ดีกว่านี้ ก็จะทาให้แรงงานเหล่านี้เข้าถึงการบริการได้โดยไม่ต้อง
นอกระบบมากขึน้ เกิดภาคเศรษฐกิจนอกระบบทีใ่ หญ่เกินไป และ เสียเงินมากเกินไป
เพิม่ ปญั หาต่างๆ ตามมา อาทิ ปญั หาทีอ่ ยู่อาศัย การใช้อานาจรัฐ
ทัง้ นี้ นพ.ภูษติ ตัง้ คาถามถึงนโยบายประชาวิวฒ ั น์ทใ่ี ห้แรงงานนอก
เพื่อแสวงประโยชน์สว่ นตัว
ระบบทุกคนร่วมจ่ายในอัตรา เดียวกันว่าเป็ นธรรมหรือไม่ เนื่องจาก
คณบดีคณะเศรษฐศาสตร์ มธ. เสนอว่า ควรจะต้องมีนโยบายเชิง รายได้แต่ละคนไม่เท่ากัน แต่กลับต้องจ่ายสมทบเท่ากัน โดยเขา
โครงสร้าง เพื่อลดการอพยพมายัง เมือ ง โดยสร้า งสมดุ ลของ เสนอให้จ่ายตามกาลังของแต่ละคน นอกจากนี้ นพ.ภูษิต ยังกังวล
เศรษฐกิจในเมืองและชนบท กระจายอุตสาหกรรมและการลงทุนสู่ เรื่องการจัดเก็บเงินสมทบจากแรงงานนอกระบบว่าอาจมีปญั หา
ชนบท พัฒนาเมืองขนาดย่อม รวมถึงกระจายอานาจสูท่ อ้ งถิน่ ด้วย ในทาง ปฏิบตั ิ เพราะไม่สามารถหักผ่านบัญชีเงินเดือนได้เหมือน
ระบบประกันสังคม โดยมองว่า หากไม่มรี ะบบจัดเก็บทีด่ ี ก็อาจทา
เตือนอย่าลืมแก้ปัญหาโครงสร้างการจ้างงาน ให้ผทู้ อ่ี ยู่ห่างไกลหรือไม่มคี วามรูเ้ ข้ามาในระบบไม่ได้

ด้านเสาวลักษณ์ ชายทวีป อาจารย์ประจาสาขาพัฒนาสังคมและ ทัง้ นี้ นพ.ภู ษิ ต ได้เ สนอให้ แ ยกส านั ก งานประกัน สัง คมส าหรับ
มนุ ษย์ คณะศิลปศาสตร์ มหาวิทยาลัยแม่โจ้ กล่าวถึงนโยบาย แรงงานนอกระบบ ออกจากส่วนของผู้ประกันตนในระบบด้วย
ประชาวิว ัฒน์ ในส่ว นที่พูดถึงการสร้างสวัสดิก ารให้แรงงานนอก เพื่อให้การจัดการมีประสิทธิภาพมากขึน้ เนื่องจากการจัดการกับ
ระบบว่า ยังไม่มรี ายละเอียดที่ชดั เจนถึงการประกันค่าจ้างและ ปญั หาและการจ่ายชดเชยของแรงงานทัง้ สองประเภทมีความแตก
รายได้ท่มี นคงของแรง
ั่ งานนอกระบบ พร้อมแนะนาว่าการออก ต่างกัน
นโยบายใดๆ ควรต้องคานึงถึงความสมดุลของเศรษฐกิจโดยรวม
ด้วย โดยเสนอว่า ควรมีการขับเคลื่อนนโยบายทัง้ แรงงานในระบบ ชี้ระบบสวัสดิ การรัฐหลายระบบทาปชช.สับสน
และนอกระบบไปพร้อมกัน ไม่เช่นนัน้ จะกลายเป็ นว่ามีนโยบาย
สุนทรี หัตถีเซ่งกิ่ง เลขาธิการคณะกรรมการประสานงานองค์กร
เสริม แต่ โครงสร้างการจ้างงานยังอยู่แบบเดิม แรงงานไม่ได้มี
พัฒนาเอกชน กล่าวว่า ก่อนหน้านี้ภาคประชาชนได้ร่วมกันผลักดัน
ค่าจ้างทีส่ งู ขึน้
แก้ไขร่างมาตรา 40 อยู่นานกว่า 6 ปี แต่เมื่อนโยบายประชาวิวฒ ั น์
โดยเธอยกตัวอย่างกรณีรฐั บาลอาร์เจนตินาออกกฎหมายการจ้าง มาก็ทาให้ร่างทีท่ าร่วมกันมานี้แท้งไป ทัง้ นี้ ในส่วนของการประกัน
งานแห่งชาติ (National Employment Law) ทีเ่ ปิ ดให้รฐั เข้ามา ตนโดยอิสระของแรงงานนอกระบบ มีขอ้ สงสัยว่า ทาไมรัฐจึงให้
จัดการในตลาดแรงงานนอกระบบและสร้างกฎเกณฑ์ทเ่ี ป็ นทางการ สิทธิประโยชน์เพียง 3 อย่าง ทัง้ ที่ท่เี รียกร้องกันนัน้ ต้องการ 7
ในทุกประเภทของแรงงานนอกระบบ รวมทัง้ การให้สวัสดิการ ซึ่ง อย่างเท่ากับผูป้ ระกันตนในระบบ ซึง่ เป็ นผูใ้ ช้แรงงานเหมือนๆ กัน
ปรากฏว่านายจ้างไม่ต้องรับผิดชอบในการจัดหาสวัสดิการ แต่ใน
นอกจากนี้ สุนทรีระบุว่า นโยบายประชาวิวฒ ั น์ เกิดขึ้นภายใต้
ขณะเดียวกันก็มกี ารจ้างงานในภาคไม่เป็ นทางการ เช่นเดียวกับ
แนวคิดปฏิรปู การเมือง สร้างความเป็ นธรรม ลดความเหลื่อมล้า ซึง่
8 << คนทำงำน มกรำคม 2554
ย้อนไปจะพบว่าเกิดหลังการเผาบ้านเผาเมืองทีร่ าชประสงค์ ทีก่ ลุ่ม ในระยะยาว เป็ นต้น อย่างไรก็ตาม เขายอมรับว่ายังไม่ค่อยพอใจ
การเมืองหนึ่งพูดเรื่องการสร้างความเป็ นธรรมนี้เช่นกัน จึงไม่แน่ ใจ ระบบทีไ่ ด้เท่าใด แต่กเ็ ห็นว่าการเริม่ ต้นเป็ นสิง่ ทีส่ าคัญทีส่ ุด และ
ว่านโยบายนี้เกิดขึน้ เพราะเหตุผลทางการเมืองหรือไม่ หากใช่กม็ ี หากมีคนเข้าสู่ระบบประกันสังคมมากขึน้ ก็คงต้องทบทวนสิทธิ
คาถามว่าจะยังยื่ นหรือไม่ เพราะอะไรก็ตามที่เป็ นเครื่องมือทาง ผลประโยชน์กนั ใหม่
การเมืองก็มกั มีปญั หาความยังยื
่ นอยู่ ด้วย
ทัง้ นี้ สังศิตให้ขอ้ มูลเพิม่ เติมว่า การให้สนิ เชื่อแก่แรงงานนอกระบบ
สุนทรีวจิ ารณ์ถงึ ระบบสวัสดิการต่างๆ ทีร่ ฐั จัดให้ว่า เหมือนมีความ นัน้ ให้ได้ทงั ้ รายกลุ่มจานวน 10-25 คนและรายปจั เจก โดยรายกลุ่ม
เกรงใจกันในระบบราชการ แต่ละหน่วยงานต่างมีอาณาจักรของตัว จะได้ดอกเบีย้ จะถูกกว่า เพราะความเสีย่ งต่ ากว่า พร้อมเสนอว่า
พอคิดนโยบายอะไรได้ ก็ตงั ้ ระบบใหม่ข้นึ มา ทาให้ไม่มีความ อย่าหวังพึง่ แต่รฐั ควรจะต้องรวมกลุ่มจัดเองด้วย โดยยกตัวอย่าง
เชื่อมโยงกันและสับสนวุ่นวาย มีทงั ้ ประกันสังคม หลักประกัน กลุ่มทีป่ ระสบความสาเร็จ เช่น กลุ่มแม่ค้าท่าทราย จ.นนทบุรี ที่
สุขภาพแห่งชาติ และการออมแห่งชาติ ดังนัน้ รัฐน่าจะต้องจัดระบบ เก็บดอกเบีย้ เงินกูส้ มาชิกร้อยละ 20 จ่ายจริงร้อยละ 6 อีกร้อยละ
สวัสดิการให้เชื่อมโยงและเป็ นเรื่องเดียวกัน ให้ประชาชนเข้าใจได้ 14 กันไว้เป็ นเงินออมของสมาชิก
ง่าย ซึง่ จะเป็ นผลดีกบั รัฐบาลในการจัดการ
หลังการแสดงความเห็นจากนักวิชาการ มีการเปิ ดเวทีให้แรงงาน
สังศิ ตมันใจไม่
่ เหมือน "ประชานิ ยม" นอกระบบจากอาชีพต่ างๆ แสดงความเห็นโดยส่วนใหญ่ ระบุว่ า
มาตรการต่างๆ ยังไม่ครอบคลุมทุกกลุ่มอาชีพ เช่น คนทางานบ้าน
ด้านสังศิต พิริยะรังสรรค์ ผู้อานวยการโครงการปริญญาดุษ ฎี พนักงานบริการ เกษตรกร ผู้รบั งานไปทาที่บา้ น แรงงานรับจ้าง
บัณฑิตสาขาวิชาการพัฒนาธรรมาภิบาล มหาวิทยาลัยราชภัฏ ทัวไป ่ รวมถึงยังไม่ค่อยมีความชัดเจนในการดาเนินมาตรการ เช่น
จันทรเกษม ในฐานะหัวหน้ าโครงการประชาวิวฒ ั น์ของรัฐบาล การประกันกลุ่มทาอย่างไร จะทาได้เมื่อไหร่ และย้าว่าการเข้าสู่
กล่าวว่า นโยบายประชาวิวฒ ั น์นนั ้ แตกต่างกับนโยบายประชานิยม ระบบประกัน สัง คมนั น้ อยากได้สิท ธิป ระโยชน์ คุ้ม ครองเหมือ น
ทัง้ ในระดับปรัชญาและหลัก คิดอย่างถึงที่สุด โดยขณะที่ประชา แรงงานในระบบเช่นกัน
นิยมเป็ นการสังการผ่
่ านฝ่ายการเมือง ไม่มกี รอบกฎหมายรองรับ
แต่ประชาวิวฒ ั น์จะถูกนาเข้าสู่ระบบกฎหมาย ถึงแม้นายอภิสทิ ธิ ์ หลั ง การเสวนาเครื อ ข่ า ยแรงงานนอกระบบได้ ร่ ว มกั น ออก
ไม่ได้เป็ นนายกฯ นโยบายก็จะยังอยู่ นอกจากนี้ การออกแบบ แถลงการณ์เรียกร้องให้ รัฐบาลสร้างวิสยั ทัศน์และนโยบายระยะ
นโยบายยัง นาผู้ท่ีมีส่วนได้ส่ว นเสีย มานัง่ ทางาน เพื่อหาจุ ด ที่ ยาวทีต่ ่อเนื่อง ชัดเจน จริงจัง และแก้ไขกฎหมายต่างๆ ทีเ่ กีย่ วข้อง
เจ้าหน้าทีจ่ ะไม่มคี วามเสีย่ งด้วย โดยยกตัวอย่างกรณีสนิ เชื่อราคา เพื่อบรรลุการสร้างหลักประกันในการทางานและหลักประกันทาง
ถูก ซึง่ ให้แต่ละธนาคารออกแบบอัตราดอกเบีย้ ทีแ่ ต่ละแห่งจะอยู่ได้ สังคมให้แก่แรงงาน นอกระบบทุกกลุ่ม ทุกพืน้ ทีด่ ว้ ย.

แถลงการณ์ของเครือข่ายแรงงานนอกระบบ ไปให้ไกลกว่าประชาวิวัฒน์
เมื่อพูดถึงแรงงานนอกระบบ เราทุกคนต่างตระหนักดีว่าเรากาลังพูดถึงชีวติ ของคนจานวน 24 ล้านคน ผู้สร้างผลผลิตและเศรษฐกิจที่มี
มูลค่าถึงร้อยละ 70 ของผลผลิตมวลรวมประชาชาติ(GDP) ผู้ซึ่งต้องเผชิญหน้าอยูก่ ับช่องว่างทางเศรษฐกิจ ที่ความแตกต่างระหว่างคน
รวยและคนจนมีมากถึง 15 เท่า ดังนั้นการสร้างหลักประกันในการทางาน รายได้ และการพัฒนาคุณภาพชีวิตของแรงงานนอกระบบจึง
เป็นความรับผิดชอบที่รัฐไม่ สามารถปฏิเสธได้

เมื่อรัฐบาลประกาศนโยบาย“ประชาวิวัฒน์” เราแรงงานนอกระบบจึงรู้สึกขอบคุณและยินดีที่รัฐบาลได้เริ่มต้นก้าวแรกที่มี ความสาคัญ


แต่ขณะเดียวกันแรงงานนอกระบบก็ขอยืนยันความต้องการที่แท้จริงของพวกเรา นั่นก็คือ

1) หลักประกันในการที่จะมีงานทาอย่างต่อเนือ่ ง สม่าเสมอ มีความปลอดภัย ตามที่รัฐธรรมนูญฉบับปัจจุบัน ได้ให้การคุ้มครองไว้ และ


การที่จะได้รับการคุ้มครองรายได้จากการทางานที่เพียงพอต่อการดารงชีวติ อย่างมีคุณภาพ

2) ระบบประกันสังคมที่มีสิทธิประโยชน์คุ้มครองครอบคลุมความยาก ลาบาก และความเสี่ยงในเรื่อง การเจ็บป่วย การให้กาเนิดบุตร


การเลี้ยงดูบุตร ทุพพลภาพ การว่างงาน ชราภาพ และ การเสียชีวิต และความเสี่ยงอื่นๆ อย่างครบถ้วน โดยมีรัฐร่วมจ่ายสมทบเข้าสู่
คนทำงำน มกรำคม 2554 >> 9
กองทุนด้วยอัตราที่เท่ากันกับแรงงานนอกระบบที่ เป็นผู้ประกันตน ไม่เป็นการตัดสิทธิ์ของแรงงานนอกระบบในการที่จะเข้าถึง ระบบ
สวัสดิการต่างๆ ที่รัฐจัดให้กับประชาชน เช่น หลักประกันสุขภาพแห่งชาติ กองทุนการออมแห่งชาติ บานาญประชาชน และมีการบรารกง
ทุนที่เป็นอิสระ เพื่อแรงงานนอกระบบ และโดยตัวแทนของแรงงานนอกระบบ

3) กองทุนสนับสนุนของรัฐเพือ่ การพัฒนาอาชีพของแรงงานนอกระบบทุกกลุ่ม ทุกประเภท ที่ปลอดดอกเบี้ย หรือดอกเบี้ยถูก และ


สามารถเข้าถึงได้ง่าย เพื่อให้แรงงานนอกระบบใช้ซื้อเครื่องมือเครื่องจักร พัฒนากระบวนการผลิต ปรับปรุงสภาพแวดล้อมการทางาน
พัฒนาการตลาด และอื่นๆ และ

4) การบริการ และมาตรการพิเศษต่างๆ จากหน่วยงานของรัฐ ที่จะสนับสนุนแรงงานนอกระบบ เช่น การพัฒนาทักษะฝีมือ การบริการ


ข้อมูลข่าวสาร การสร้างช่องทางการตลาด การลดหย่อนภาษี การลดค่าใช้ไฟฟ้า เป็นต้น

ซึ่งนโยบาย "ประชาวิวัฒน์" ในลักษณะมาตรการเฉพาะหน้า ชัว่ คราว ที่รัฐบาลได้ประกาศเมื่อวันที่ 9 มกราคม 2554 ที่ผ่านมา จึงไม่พี
ยงพอที่จะสร้างหลักประกันที่แท้จริงดังกล่าว

เราผู้นาแรงงานนอกระบบจาก กลุ่มผู้รับงานไปทาที่บ้าน ผู้ผลิตเพือ่ ขาย แท็กซี่ มอเตอร์ไซค์รบั จ้าง หาบเร่แผงลอย เกษตรตรกรรายย่อย


เกษตรกรในระบบพันธะสัญญา คนทางานบ้าน และ พนักงานบริการ รวมจานวน 140 คน ที่เข้าร่วมการเสวนา “เสียงสะท้อนจาก
แรงงานนอกระบบ” จึงขอเรียกร้องให้รัฐบาลสร้างวิสัยทัศน์และนโยบายระยะยาวที่ต่อเนื่อง ชัดเจน จริงจัง และแก้ไขกฎหมายต่างๆ ที่
เกี่ยวข้อง เพือ่ บรรลุการสร้างหลักประกันในการทางานและหลักประกันทางสังคมให้แก่แรงงาน นอกระบบทุกกลุ่ม ทุกพื้นที่ และสร้าง
มาตรการเฉพาะที่จะตอบสนองปัญหาความต้องการ และสร้างหลักประกันที่เหมาะสมกับแรงงานนอกระบบรายประเภท รวมทั้งกลุ่มที่ยัง
ไม่ได้ระบุไว้ ภายใต้นโยบายประชาวิวัฒน์ เพื่อที่จะขจัดความเหลื่อมล้า ขจัดความไม่เป็นธรรมในสังคม ดังเช่นที่รัฐบาลเคยได้ ประกาศ
เจตนารมณ์ไว้ตอ่ ประชาชน

20 มกราคม 2554
ห้องแอลที คณะนิตศิ าสตร์ มหาวิทยาลัยธรรมศาสตร์

10 << คนทำงำน มกรำคม 2554


บทความ >>

15 ปี คดีทอผ้า: สังคมไทยได้อะไร? กับค่าทดแทนที่เป็นธรรม


สมบุญ สีคาดอกแค

ประธานสภาเครือข่ายกลุ่มผู้ป่วยจากการทางานและสิ่งแวดล้อมแห่งประเทศไทย

“ไม้ ซีกน้ อยด้ อยแรงงัดแต่ ถ้ามัดกันแล้ วมุ่ง รวมใจงัดไม้ ซุงมีหรื อมิเคลื่อนไป


พลังอันน้ อยนิดจะพิชิตอานาจใหญ่ รวมกันเข้ าผลักใสใหญ่ แค่ ไหนไม่ อาจทาน
มาเถิดไม้ ซีกน้ อยถึงจะด้ อยแต่ อาจหาญ สองมือคือแรงงานใครจะทานพลังเรา”
จากอีเมลสหภาพคนงาน GM 21 ม.ค.54

วันที่ 23 มกราคม 2554

กลอนบทนี้ ทีไ่ ด้จากอีเมลของสหภาพแรงงาน GM ทาให้เป็ นแรงจูงใจทีจ่ ะเขียนบทความนี้ ขึน้ มา เพราะเป็ นบทกลอนทีต่ รงใจของกลุ่ม
ผูป้ ว่ ยอย่างพวกเรา

ช่วงทีเ่ ป็ นโจทก์ย่นื ฟ้องนายจ้างกันนัน้ พวกเราจะถูกทักท้วงด้วยคาพูดนี้เสมอว่า จะเอาไม้ซกี ไปงัดไม้ซุงหรือไง ? แล้วก็มคี นหวังดีเข้ามา


ทักท้วงตักเตือนกันมากมาย แต่เราก็ไม่ได้หวันวิ ่ ตกกับคานี้เท่าไหร่เพราะเราคิดว่า สูก้ ป็ ่วย ไม่สกู้ ป็ ่วย ดังนัน้ พวกเราสูจ้ ะดีกว่า เพราะถ้า
เราปว่ ยแล้วไม่มเี งินรักษาตัวนี่ซจิ ะทาอย่างไร ? แล้วนายจ้างก็ปฎิเสธการปว่ ยของพวกเราก่อน

ผูป้ ่วยเกือบ 200 คนต้องถูกนายจ้างฟ้องเพิกถอนคาวินิจฉัยของกองทุนเงินทดแทน ทีว่ ่าพวกเราป่วยเป็ นโรคบิสซิโนซิสจากการทางาน


ทัง้ ๆทีเ่ ราทุกคนได้รบั การวินิจฉัย กับ พญ.อรพรรณ์ เมธาดิลกกุล คลินิกแพทย์อาชีวเวชศาสตร์และสิง่ แวดล้อม รพ.ราชวิถี ว่าพวกเราปว่ ย
เป็ นโรคบิสซิโนซิส ปอดอักเสบจากฝุน่ ฝ้ายเนื่องจากการทางาน ต้องกินยามือ้ หนึ่งเกือบ 10 เม็ด 3 มือ้ ก็ตก 30 เม็ดต่อวันพวกเราทรมาน
ด้วยอาการป่วย มีเจ็บคอ คอแห้ง มีเสมหะพันคอ มีไข้ ไอมากไม่หยุด จนเจ็บซีโ่ ครง เสียวลึกๆในปอด หายใจไม่สะดวก จะนัง่ ยืน เดิน
หรือ นอนก็เหนื่อยหายใจไม่เต็มอิม่

9 พฤษภาคม 2538 คนปว่ ยโรคบิสซิโนซิสจากการทางาน 37 คนนี้ จึงเป็ นโจทก์ย่นื ฟ้องนายจ้างโดยแต่ละคนเรียกค่าสินไหมทดแทนคน


ละ 1 -2 ล้านบาท คิดจากค่ายาค่ารักษาตกเดือนละ 2-3 พันบาท ค่าขาดโอกาสในการประกอบอาชีพเดือนละ 5 พันบาท ค่าภาระเลีย้ งดู
บุตร บิดามารดาเดือนละ 3 พันบาท ค่าสูญเสียสมรรถภาพปอดตลอดชีวติ ประเมินค่ามิได้ เพราะปอดเป็ นอวัยวะทีส่ าคัญของร่างกายใน
การผลิตเลือดไปสู่หวั ใจและหล่อ เลีย้ งร่างกาย โดยทนายยื่นฟ้องบริษทั ฐานทีเ่ ป็ นผูก้ ่อมลพิษทาการประมาทเลินเล่อ ปล่อยให้มลพิษฝุ่น
ฝ้ายอยู่ในอากาศจนเข้าสูร่ ่างกายเป็ นอันตรายต่อสุขภาพจน พวกเรา เกิดปอดอักเสบและเสือ่ มสมรรถภาพไปอย่างถาวรตลอดชีวติ

ระยะเวลาเนิ่นนานผ่านไปด้วยการที่โจทก์จ าเลย น าพยาน มาสืบต่ อศาลต้อ งดินขึ้นลงศาลตลอดระยะเวลาที่ผ่ านมา ต้องเจอกับ


สถานการณ์ ทีท่ าร้ายกระทบกระเทือนจิตใจ ผูป้ ่วยอย่างพวกเราตลอดเวลา ด้วยฝ่ายนายจ้างผู้ ก่อมลพิษปฏิเสธต่างๆนา ท้าให้พวกเรา
ต้องไปตรวจพิสจู น์กบั แพทย์ท่านอื่น ซึง่ เราคิดว่าเป็ นวิธคี ดิ ทีไ่ ม่เคารพกัน มองว่าฝา่ ยคนงานทีเ่ จ็บป่วยเป็ นฝ่ายผิดทีฟ่ ้ องร้องนายจ้าง ถึง
ต้องทาการตรวจพิสจู น์ ซึง่ เราก็คดิ ว่าทาไมไม่ทา้ ไปตรวจพิสจู น์โรงงานบ้าง หลายคนต้องลาออกจากงานเพราะทนแรงกดดันไม่ไหว ทน
เจ็บปว่ ยแล้วทางานต่อไปไม่ไหว และมีหลายคนทีถ่ ูกปลดออกจากงาน ชีวติ คนป่วยต้องตกระกาลาบาก เจ็บป่วยกายแล้วก็ยงั เจ็บป่วยใจ
รูส้ กึ ท้อแท้ สิน้ หวัง แต่กไ็ ม่เลิกราทีจ่ ะต่อสูค้ ดี เพื่อพิสจู น์ว่าการเจ็บป่วยเกิดจากการทางานจริงๆ ตามทีน่ ายจ้างมองว่าพวกเราไม่ได้ป่วย
แกล้งปว่ ย ???

คนทำงำน มกรำคม 2554 >> 11


จนกระทังเวลาผ่
่ านไป 8 ปี 4 เดือน ศาลนัดฟงั คาพิพากษาคดีวนั ที่ 30 กันยายน 2546 ให้นายจ้างมีความผิดฐานประมาทเลินเล่อ ปล่อย
ฝุน่ ฝ้ายทาให้พวกคนงานปว่ ยเป็ นโรคบิสซิโนซิสปอดอักเสบจากฝุน่ ฝ้าย เนื่องจากการทางานจนปอดเสือ่ มสมรรถภาพการทางานของปอด
อย่างถาวรตลอดชีวติ โดยให้ได้รบั เงินสินไหมทดแทนคนละ 1 แสน -2 แสนบาทพร้อมดอกเบีย้ ร้อยละ 7.5 / ปี แต่โรงงานใช้สทิ ธิอุทธรณ์
คาพิพากษาต่อศาลฎีกา

ช่วงนี้เองทีค่ นป่วยส่วนใหญ่กเ็ ริม่ มีอาการเจ็บป่วยมากขึน้ หลายคนใช้วดั เป็ นทีพ่ ง่ึ ทางใจ หลายคนต้องหาเงินเลีย้ งชีพด้วยการไปรับจ้าง
เขา ด้วยพละกาลังทีป่ ว่ ย เพราะมีภาระมีลกู ทีย่ งั เล็ก มีพ่อแก่แม่เฒ่าต้องดูแล และคนป่วยจึงพยายามปกปิ ดตัวเองไม่ให้ใครรูว้ ่าป่วยอยู่ มี
คดีในศาล เพราะเกรงว่าสังคมไม่เข้าใจจะรังเกียจ คนป่วยเริม่ มีอาการป่วยแทรกซ้อนมากขึน้ ทัง้ ปอดอักเสบ เสื่อม เป็ นหวัดบ่อย เป็ นไข้
บ่อย โรคความดัน โรคเครียด โรคหัวใจ โรคเบาหวาน ทีส่ าคัญ คือโรคกระดูก ซึง่ เป็ นกันเกือบทุกคน คงเป็ นเพราะว่ากินยาระยะยาวนาน
และปอดทีส่ าคัญเสือ่ มสมรรถภาพในการทางาน จึงพาให้ร่างกายสุขภาพมีโรครุมเร้า

ผลจากการทีต่ อ้ งต่อสูร้ ะยะยาวทาให้คนปว่ ยโรคบิสซิโนซิสไม่เพียงแต่เป็ น ผูส้ ญ


ู เสียสุขภาพเท่านัน้ หลายคนต้องเป็ นผูส้ ญ
ู เสียสภาพจิตใจ
ไปด้วย คือ คนป่วยจะเก็บตัว ไม่เข้าสังคม ซึมเศร้า หงุดหงิดง่าย เครียด นอนไม่ค่อยหลับ หลงๆลืมๆ เบลอๆ เป็ นผลให้ไม่สามารถ
ประกอบอาชีพอะไรได้ ทุกคนต้องเป็ นหนี้เป็ นสิน บางคนถึงขัน้ เคยคิดฆ่าตัวตายเพื่อหนีปญั หาและเกิดความเบื่อหน่ ายชีวติ ทีจ่ ะอยู่ในโลก
อันเลวร้ายนี้

เวลาผ่านไปเป็ น 11 ปี ศาลแรงงานกลางนัดฟงั คาพิพากษาของศาลฎีกาในวันที่ 14 พฤษภาคม 2549 ทุกคนไปฟงั คาพิพากษาฎีกา กัน


อย่างพร้อมเพียงด้วยหัวใจจดจ่อหวังว่าคดีคงสิน้ สุดคราวนี้แน่ แล้ว แต่เมื่อฟงั คาฎีกา มีคาสังว่
่ าคาพิพากษาของศาลแรงงานกลางยังฟงั
ข้อเท็จจริงๆไม่เพียงพอจึงยกคา พิพากษาครัง้ แรก และให้ศาลแรงงานกลางสืบข้อเท็จจริงเพิม่ เติมใหม่กบั โจทก์ทงั ้ 37 คนใน 3 ประเด็น
ดังนี้

1.ผ้าปิ ดจมูกทีจ่ าเลยจัดให้ลกู จ้างใช้ในโรงงานได้มาตรฐานตามทีห่ น่วยราชการกาหนดหรือไม่

2.จาเลยออกระเบียบให้พนักงานสวมใส่ผา้ ปิ ดจมูกในขณะปฏิบตั งิ านหรือไม่และคอย ควบคุมดูแลให้พนักงานปฏิบตั ติ ามระเบียบดังกล่าว


หรือไม่ เพียงใด

3.หากฟงั ว่าจาเลยทัง้ สองกระทาการละเมิดต่อโจทก์การละเมิดเกิดขึน้ เมื่อใด สิน้ สุดเมื่อใด โจทก์ได้ทราบถึงการละเมิดและรูต้ วั ผูพ้ งึ ต้อง


ชดใช้ค่าสินไหมตัง้ แต่เมื่อใด

วันนัน้ จึงไม่ตอ้ งบอกว่าคนทีไ่ ปศาลจะเห็นอะไร ? น้าตาผูป้ ว่ ยไงคะ ทีม่ นั ไหลรินออกมา แทบหมดกาลังล้มทัง้ ยืน มีบางคนแอบคิดสัน้ “ นี่
11 ปี แล้วนะ!! ข้อมูลพยานหลักฐานต่างๆคนปว่ ยก็ย่นื ส่งศาลไปหมดกันครบถ้วนแล้วทาไมต้องมาสืบ ใหม่ ? การสืบใหม่ครัง้ นี้ตอ้ งใช้ระยะ
เวลานานเท่าใด ? ผลจะเป็ นอย่างไร ถ้าหากตัดสินให้คนป่วยชนะจะต้องมีอุทธรณ์ฎกี าอีกไหม ? และถ้าหากแพ้จะทาอย่างไร ? ในใจคน
ปว่ ยทุกคนมีแต่คาถาม เคยมีคดีแบบนี้บา้ งไหม ?

คนปว่ ยโรคบิสซิโนซิสหลายคนเริม่ ทยอยห่างหายไป สภาเครือข่ายกลุ่มผูป้ ่วยฯ ก็พยายามหางบมาจัดกิจกรรมเพื่อให้คนป่วยได้มเี วทีมา


แลกเปลีย่ นพบปะกันเป็ น ประจาทุกเดือน หรือออกไปเป็ นตัวแทนองค์กร มีบางรายเอายามาแบ่งกัน มีบางรายก็มาขอยืมเงินกัน เอาของ
มาขายให้กนั มีบางรายต้องไปเยีย่ มเยียนเพื่อนทีน่ อนปว่ ยไปไหนไม่ไหวพากันไปหาหมอ

แล้ววันนัดฟงั คาพิพากษาของศาลแรงงานกลางอ่านคาพิพากษาครัง้ ที่ 2 ก็มาถึงในวันที่ 30 พฤษภาคม 2550 นับเวลาผ่านไปรวม 12 ปี


โดยศาลแรงงานกลางตัดสินให้ผปู้ ว่ ยโรคบิสซิโนซิสชนะคดีอกี ครัง้ โดยให้นายจ้างต้องชดใช้ค่าสินไหมทดแทนให้โจทก์ทงั ้ 37 คนต่ าสุด 6
หมื่นบาทสูงสุด 110,000 บาทพร้อมดอกเบีย้ 7.5 ต่อปี นับจากวันฟ้องจนถึงวันทีจ่ ่ายเงินเสร็จ ทุกคนดีใจเป็ นที่สุดคิดว่าคดีคงยุตแิ ล้ว
ถึงแม้ค่าสินไหมทดแทน จะลดลงครึง่ หนึ่งก็ช่างเถอะ แต่แล้วความดีใจก็มไี ด้ไม่นาน เมื่อรูว้ ่านายจ้างยื่นอุทธรณ์ไปยังศาลฎีกาเป็ นครัง้ ที่ 2
คราวนี้คนปว่ ยท้อแท้มากๆบางคนก็มาลาออกจากกลุ่มบอกว่าไม่เอาแล้วเงินศาล เพราะสุขภาพไปไม่ไหว ไม่มเี งิน ไม่มยี า ไม่อยากสูแ้ ล้ว

12 << คนทำงำน มกรำคม 2554


ระหว่างรอคาฎีกาจากศาลก็มหี มายจากกรมบังคับคดีมาถึงโจทก์ทุกคนว่าขณะนี้ นายจ้างกาลังล้มละลาย จึงขอให้ศาลล้มระลายกลางมี
่ เข้าฟื้นฟูกจิ การ โดยให้พวกเราคนปว่ ยไปร้องเป็ นเจ้าหนี้กบั บริษทั ช่วงนี้คนปว่ ยต้องลงมาจากต่างจังหวัด มาประชุมมาทาใบมอบ
คาสังให้
อานาจ ซึง่ ก็มอี ยู่ 3-4 รายทีจ่ ะสละสิทธิไม่สตู้ ่อ และจะไม่มอบอานาจ แต่สดุ ท้ายทุกคนก็พร้อมใจกันเหมือนเดิม

ระหว่างการเจรจาเพื่อชาระหนี้ทางนายจ้างก็มาต่อรองว่าจะให้เงินคนละ 100,000 บาทโดยไม่ต้องรอคาพิพากษาฎีกา แล้วทีเ่ หลือก็ยก


ประโยชน์ให้กบั โรงงานไปแต่มขี อ้ แม้ว่าจะต้องไปขอระงับการ พิจารณาคดี ซึง่ ทีป่ ระชุมคนปว่ ย ก็ไม่ยนิ ยอมกันทีจ่ ะให้ไประงับคาพิพากษา
ฎีกา แต่สดุ ท้ายผลจากคาพิพากษาศาลล้อมระลายกลางพิพากษาว่าทางโรงงานไม่ได้ลม้ ระ ลายจริง จึงไม้ตอ้ งเข้าข่ายฟื้นฟูกจิ การแต่อย่าง
ใด และนี่กเ็ ป็ นจุดแข็งของกลุ่มคนปว่ ยทีท่ ุกคนร่วมกันตัดสินใจ ไม่ได้ใช้ความคิดของคนใดคนหนึ่งเท่านัน้

การติดตามคาพิพากษาฎีกาก็มอี ยู่เป็ นระยะๆโดยทางกลุ่มออกหนังสือไปถึง เลขาธิการประธานศาลฎีกาก็ผปู้ ่วยไปยื่น ได้รบั คาตอบทุก


ครัง้ ว่า คดีกาลังอยู่ระหว่างการพิจารณา ในใจผูป้ ว่ ยหลายคน เริม่ มีความคิดว่าผลคดีสดุ ท้ายจะเป็ นอย่างไร ? เริม่ มีความรูส้ กึ ว่า ความเป็ น
ธรรมนี่หนา ช่างบางเบาเหมือนปุยฝ้ายจริงๆ ล่องลอยไปเรื่อยๆจนพวกเราคนปว่ ยไขว่คว้าหยิบจับแทบไม่ได้ มองแทบไม่เห็น

พีๆ่ ป้าๆมาบ่นเสมอว่า “สมบุญ ป้าจะอยู่ถงึ คาพิพากษาไหมหนอ ? สามวันดี สีว่ นั ไข้ อยู่อย่างนี้ บางคนก็บ่นว่าพีไ่ ม่มเี งินเลย”...บางคนก็
เจ้าหนี้ทวง ต้องขายบ้านขายช่องหนีเจ้าหนี้ ไม่มบี า้ นซุกหัวนอน ทางกลุ่มก็ต้องคอยให้กาลังใจกันไปหากิจกรรมให้คนป่วยทาไม่ให้ต้อง
เครียด พาไปร่วมกิจกรรมตามทีก่ ลุ่มจัดในทีต่ ่างๆอย่างสม่าเสมอตามกาลังทีจ่ ะสามารถ ทาได้เพื่อไม่ให้คนปว่ ยเครียด

ย่างเข้าปี ท่ี 15 ปี 6 เดือน คุณอุไร ไชยุชติ เป็ นหนึ่งเดีย่ วทีไ่ ด้รบั หมายศาลจากศาลแรงงานกลางให้ ไปฟงั คาพิพากษาฎีกาใน วันที่ 8
พฤศจิกายน 2553 ซึง่ เป็ นเรื่องทีแ่ ปลกมากๆ โจทก์ 37 คนแต่ได้รบั หมายเพียงคนเดียว ทางสภาเครือข่ายฯ ต้องนาเอกสารหมายศาล
ฉบับนี้ถ่ายสาเนา แล้วส่งไปแจ้งคนปว่ ยทัง้ 37 คนทีอ่ ยู่กนั คนละทิศละทาง แต่ถงึ วันตัดสินจริงๆทุกคนกลับทาใจได้ว่าผลจะเป็ นอย่างไร ?
ขอเพียงแต่ให้คดีสน้ิ สุดเสียทีเถอะจะได้นอนตายตาหลับสักที เพราะเครียดมามากแล้ว ต่อสูม้ ายาวนานแล้ว ยังโชคดีทย่ี งั มีชวี ติ ไปฟงั คา
พิพากษาศาล

ถึงกระนัน้ ก็ยงั มีอยู่ 2-3 รายทีเ่ มื่อรับแจ้งแล้วไม่เชื่อว่าศาลตัดสินแล้ว แน่นอนผลคดีออกมายืนตามศาลชัน้ ต้น(ศาลแรงงานกลาง)ทุกคนจึง


ดีใจ กับชัยชนะทีข่ าวสะอาด และการได้ศกั ดิศรี ์ ความเป็ นมนุษย์กลับคืนมา ว่าเรื่องทัง้ หมดทัง้ มวลนี้พวกเราปว่ ยจริง เราต่อสูเ้ พื่อความจริง
เพื่อให้สงั คมได้รวู้ ่าเราไม่ได้อยากได้เงิน แต่เราอยากได้รบั ชัยชนะ(ได้รบั คาฎีกานี้)เพื่อเป็ นบรรทัดฐานให้กบั สังคมผู้ ใช้แรงงานได้รบั รู้ ถึง
สิทธิอนั พึงมีพงึ ได้ตามกฎหมาย แต่กอ็ ยากฝากว่าการต่อสูค้ ดีเจ็บป่วยจากการทางานนี้น่าจะมีความรวดเร็ว เป็ นธรรมในเรื่องค่าสินไหม
ทดแทน และให้ทนั กับสถานการณ์การเจ็บปว่ ย ทีจ่ ะต้องได้รบั การเยียวยารักษาฟื้ นฟูสุขภาพทุกวันอย่างต่อเนื่อ ง ขอให้คดีน้ีเป็ นบทเรียน
แรกและสุดท้ายของการต่อสูเ้ พื่อสิทธิดา้ นสุขภาพของคน งานเถอะค่ะ

จึงอยากฝากความคิดตรงนี้ว่า สิทธิทไ่ี ด้รบั กับจากกองทุนเงินทดแทนนัน้ มันเป็ นสิทธิขนั ้ ต่ าสุดของกฎหมายหากจะขยับขยายวงเงิน การ


ทดแทนค่ายาค่ารักษาพยาบาล ให้มนั เพียงพอดีกบั ชีวติ คนปว่ ยทีพ่ อจะอยู่ได้ในสังคม มันควรจะเป็ นไปได้มากน้อยแค่ไหน ? หรือจะปล่อย
ให้คนปว่ ยพิการจากการทางานเหล่านี้ตอ้ งเผชิญชะตากรรมทีต่ นเองไม่ ได้ก่อแต่เพียงลาพังผูเ้ ดียวต่อไปแบบนี้หรืออย่างไร?

“ หากจะถามว่าคนปว่ ย ได้รบั ความเป็ นธรรมหรือไม่ ดิฉนั ก็อยากตอบว่าความเป็ นธรรมทีผ่ ปู้ ว่ ยได้รบั ถ้าเปรียบดัง่ ผลไม้ ก็คงเป็ นผลไม้ ที่
ถูกหนอนชอนไช กินเนื้อทีห่ อมหวานไปหมดแล้ว สิง่ ทีเ่ หลือให้คนปว่ ยได้รบั ก็คงมีแต่เม็ดทีเ่ กือบจะเน่าเท่านัน้ ดังนัน้ ความล่าช้า แห่ง คดี
คือ ความไม่เป็ นธรรม อย่างหนึ่ง ต่อแต่น้ชี วี ติ ของคนปว่ ยโรคบิสซิโนซิส ปอดอักเสบและเสือ่ มสมรรถภาพอย่างถาวร ก็คงต้องดาเนินชีวติ
ต่อไป จนกว่าจะสิน้ สุดลมหายใจสุดท้าย ซึง่ พวกเราเอง ก็ยงั ไม่รวู้ ่าชีวติ จะต้องตกระกาลาบากต่อไปอีกมากน้อยแค่ไหน..?

***เราจะมีการพูดคุยกันหลายแง่มุม ทัง้ ผูถ้ ูกกระทบ ทนายความ นักวิชาการ นักกฎหมาย ของเรื่อง 15 ปี คดีทอผ้าฯขอเชิญพีน่ ้องนักข่าว
สือ่ มวลชน คนทีส่ นใจเข้าร่วมเวทีได้ค่ะ ณ .ทีห่ อ้ งราชา โรงแรมรัตนโกสินทร์วนั ที่ 5 กุมภาพันธ์ 2554

คนทำงำน มกรำคม 2554 >> 13


รายงานพิเศษ >>

แรงงาน/เอ็นจีโอเผยประเด็นสุขภาพ “สหภาพแรงงาน” ต้อง


ขับเคลื่อน แนะให้บรรจุในข้อเรียกร้อง
สานักข่าวประชาไท รายงาน

15 ม.ค. 54 ที่สานักกลางนักเรียนคริสเตียน ได้มีการเสวนาแลกเปลี่ยน


ความคิดเห็นเพื่อสรุปบทเรียนการทางานด้านสุขภาพความ ปลอดภัย
ของคนงาน จัด โดยโครงการวิจัย “บทบาทสหภาพแรงงานในการ
*
ทางานด้านสุขภาพความปลอดภัย ” มีผู้เข้าร่วมประชุมคือ จะเด็จ
เชาวน์ วิ ไ ล ผู้ จั ด การมู ล นิ ธิ เ พื่ อ นหญิ ง , อรุ ณี ศรี โ ต อดี ต แกนน า
สหภาพแรงงานไทยเกรี ยง, ทวีป กาญจนวงศ์ คณะกรรมการ
สมานฉั น ท์ แ รงงานไทย และสพรั่ ง มี ป ระดิ ษ ฐ์ ที่ ป รึ ก ษาสหพั น ธ์
แรงงานปิโตรเลียมและเคมีภัณฑ์แห่งประเทศไทย ดาเนินการเสวนา
โดยวรดุลย์ ตุลารักษ์ นักวิจัยในโครงการฯ

จะเด็จ เชาวน์ วิไล ผู้จดั การมูลนิ ธิ เพื่อนหญิ ง ก่อน หน้ านี้เมื่อ สุข ให้มกี ารตัง้ คลินิกอาชีวะเวชศาสตร์ให้หมอทีเ่ ชีย่ วชาญโรคจาก
กล่ า วถึ ง ความสนใจต่ อ ประเด็ น สุ ข ภาพความปลอดภั ย ของ การทางานมารักษา
ขบวนการแรงงาน พบว่าความสนใจและการเรียกร้องส่วนใหญ่จะ ซึ่งถือ ว่าครัง้ นัน้ เป็ นครัง้ แรกที่ขบวนการแรงงานเริ่มเคลื่อนไหว
เป็ นเรื่องเฉพาะหน้า แต่ไม่ค่อยมีการเรียกปญั หาเชิงโครงสร้างมาก อย่างเป็ นระบบ ในเรื่องของสุขภาพความปลอดภัย ซึง่ ก่อนหน้านัน้
เท่าไร ขบวนการแรงงานมักจะให้ความสนใจไปที่เรื่องค่าแรงและรายได้
จากการทางานเสียมากกว่า
สืบเนื่องมาจากกรณีโรงงานเคเดอร์และกรณี โศกนาฏกรรมอื่นๆ ที่
คนงานต้องบาดเจ็บ ล้มตาย ทุพพลภาพ ในปี 2537 ขบวน การ อรุณี ศรีโต อดีตแกนนาสหภาพแรงงานไทยเกรียง ช่วงก่อนปี
แรงงานก็ได้เสนอกันให้ขบั เคลื่อนเรื่องสุขภาพความปลอดภัยอย่าง 2537 นัน้ ปญั หาของแรงงานมีหลายเรื่อง เช่นกรณีการเรียกร้อง
เป็ นระบบ ใช้ช่อื ว่า “คณะกรรมการรณรงค์สุขภาพความปลอดภัย เรื่องลาคลอด 90 วัน โดยกลุ่มแรงงานหญิงทีม่ กี ารเคลื่อนไหวหลัง
ของคนงาน” ซึง่ โครงสร้างประกอบไปด้วย สหพันธ์แรงงาน, กลุ่ม เหตุการณ์พฤษภาทมิฬ โดยก่อนเหตุการณ์เคเดอร์นัน้ คนงานยัง
ย่าน, กลุ่มผูป้ ว่ ยจากการทางาน, องค์กรพัฒนาเอกชนด้านแรงงาน ไม่รเู้ รื่องและละเลยเรื่องความปลอดภัย พอเกิดเหตุโศกนาฏกรรมนี้
และนักวิชาการ คนงานจึงเพิง่ มาตื่นตัวเรื่องความปลอดภัย กระแสสังคมเองก็เริม่ มี
การเห็ น อกเห็ น ใจคนงานมากขึ้ น โดยหลัง จากการรณรงค์
โดยมีประเด็นข้อเรียกร้องคือ 1.มีการเรียกต่ อ BOI ให้สนใจเรื่อง เคลื่อนไหวกรณีเคเดอร์จบแล้ว ขบวนการแรงงานก็เริม่ มีการขยับ
สุขภาพคนงานด้วย ไม่ใช่ว่าให้ความสาคัญต่อผู้ลงทุนเพียงอย่าง มาถึงเรื่องระยะยาว เริม่ หยิบประเด็นของผูป้ ว่ ยจากการทางาน เริม่
เดียว 2.เรียก ร้องต่อกระทรวงแรงงาน เน้นประสิทธิภาพเรื่องการ หยิบประเด็นเรื่องความปลอดภัยมาเคลื่อนไหวอย่างจริงจัง
ตรวจสอบ โดยให้คนงานมีสว่ นร่วมต่อการตรวจสอบในโรงงาน ซึง่
เป็ นที่มาของการตัง้ คณะกรรมการความปลอดภัยในโรงงาน โดย อรุ ณี เ ห็ น ว่ า สิ่ ง ที่ ข บวนการแรงงานต่ อ สู้ ม าได้ คื อ การมี
ลูกจ้างมีส่วนร่วมในการเลือกตัง้ เจ้าหน้าทีค่ วามปลอดภัย ให้แก้ไข คณะกรรมการความปลอดภัยระดับโรงงาน ซึ่งเป็ นสิง่ สาคัญที่สุด
ประกาศกระทรวงมหาดไทย 3.ข้อเรียกร้องต่อกระทรวงสาธารณะ แต่ประสบการณ์ทเ่ี จอคือ มีการตัง้ คนงานเป็ นคณะกรรมการฯ ตาม
กฎหมายจริง แต่ปญั หาคือ เราไม่มคี วามรู้พอ เสียงดังไม่เกิน 90

14 << คนทำงำน มกรำคม 2554


เดซิเบลมันคือเท่าไร ไม่รกู้ เ็ จรจากับนายจ้างไม่ได้ ถ้าไม่อบรม ไม่มี โดยนายจ้า งแบบนี้ ท าให้ส ถิติเ รื่อ งอุ บ ัติเ หตุ ค วามปลอดภัย ใน
ความรูค้ วามเชีย่ วชาญก็ไม่ได้อะไรเลย และแม้กระทังองค์ ่ กรทีต่ ้อง โรงงานคลาดเคลื่อน และเมื่อไปดูตามโรงพยาบาลต่างจะเห็นว่ามี
ชีเ้ ป็ นชีต้ าย เช่น ศาลแรงงาน เวลา สูค้ ดีเหมือนเอาคนมานัง่ เถียง คนป่วยเรื่องสารเคมี สุขภาพหนาแน่ น จนบางโรงพยาบาลย่าน
ั่
กันฝงแรงงานก็ มหี มอซึ่งมีภาพลักษณ์ดมี แี ค่ไม่ก่คี น ดังนัน้ ต้องมี โรงงานถอนตัวจากประกันสังคมเพราะคนงานมาใช้สทิ ธิเยอะจน
ผูเ้ ชีย่ วชาญเป็ นคณะกรรมการร่วม หรือเป็ นทีป่ รึกษาคนงานด้วย เขาไม่มกี าไร และมันขาดหลักฐานทางการแพทย์ทจ่ี ะยืนยันด้วย

สพรัง่ มี ประดิ ษฐ์ ที่ ปรึกษาสหพัน ธ์แ รงงานปิ โตรเลี ย มและ รวมทัง้ เทคนิ ค ที่น ายจ้า งพยายามลดต้น ทุ น ใช้เ ครื่องจัก รเก่ า ๆ
เคมี ภ ัณ ฑ์ แ ห่ ง ประเทศไทย ในส่ ว นของสหพัน ธ์ ฯ ได้ มี ก าร สภาพการทางานยังเหมือนเดิม แพทย์ในหน่ วยอาชีวะเวชศาสตร์
ดาเนินการเกีย่ วกับเรื่องความปลอดภัยตัง้ แต่ปี 2529 - 2530 มีการ ยังน้อยอยู่เช่นเดิม ส่วนใหญ่ท่ไี ปอยู่ตามหน่ วยต่างๆ แค่ผ่านการ
อบรม จัดทาคู่มอื ในส่วนของอุตสาหกรรมปิ โ ตรเลียมนัน้ ส่วนใหญ่ อบรม ไม่ได้เรียนมาโดยตรง นอกจากนี้การลงโทษก็น้อย ไม่มใี คร
บริษัทจะเน้นเรื่อง “ความปลอดภัยในการทางาน” เรื่องอุปกรณ์ กลัว แม้มโี ทษทัง้ แพ่งและอาญาส่วนใหญ่กพ็ จิ ารณาทางแพ่งอย่าง
เครื่องมือป้องกันต่างๆ แต่ยงั ไม่เน้นเรื่องสุขภาพของคนงาน เพราะ เดียว “นายจ้างไม่มที างเป็ นอาชญากร”
เป็ นอุตสาหกรรมทีต่ อ้ งมีการสัมผัสกับสารเคมีต่างๆ ความเจ็บป่วย
ต่อคนงานอาจไม่เกิดขึน้ ได้ทนั ที แต่จะสะสมในระยะยาว ทัง้ นี้มนั อาจเป็ นเรื่องนโยบายการลงทุ นของประเทศด้วย BOI ไม่
ตอบสนองข้อเสนอของแรงงานเลย เพราะคิดว่าไม่ใช่หน้าที่ จึงยัง
ทวีป กาญจนวงศ์ คณะกรรมการสมานฉันท์แรงงานไทย กรณี เน้นเหมือนเดิมคือโรงงานไหนก็มาลงทุนได้ เอาเปรียบคนงานไม่
สหภาพการท่าเรือ คนตื่นตัวมากกว่า เป็ นมาก่อนเคเดอร์ สภาพ เป็ นไร กระทรวงแรงงานก็ไม่สนใจรายงานจานวนคนป่วยและผลัก
การท างานมัน บัง คับ ไปในตัว เพราะสิน ค้า อัน ตรายมาผ่ า นการ ภาระให้ประกันสังคม
ท่าเรือทัง้ นัน้ (ในปี 2534 เคยเกิดไฟไหม้สารเคมีระเบิด ) สหภาพ
แรงงานได้เสนอให้มมี าตรการด้านความปลอดภัยแก่คนงาน เช่น ถึงแม้วาระแห่งชาติทร่ี ฐั บาลประกาศ ถ้าจริง ก็ ไม่ควรปิ ดบังข้อมูล
การติดป้ายสัญลักษณ์สนิ ค้าอันตรายให้ชดั เจน คนทีต่ ้องแบกสินค้า เกี่ย วกับ ความปลอดภั ย ให้ ลู ก จ้ า งควรเข้ า ถึ ง ข้อ มู ล ได้ และ
ต่างๆ ต้องมีการให้อุปกรณ์ทเ่ี หมาะสม เป็ นต้น เจ้าหน้าที่ของรัฐก็ควรต้องได้รบั การอบรมให้มคี วามรู้เรื่องความ
ปลอดภัยใน การทางาน รวมทัง้ เพิม่ จานวนเจ้าหน้าทีผ่ เู้ ชีย่ วชาญให้
จะเด็จ กล่ า วถึง ค าถามที่ว่ า สหภาพแรงงานเป็ น ป จั จัย ของการ เพียงพอ เพราะโรงงานปจั จุบนั มีกว่า 4 แสนแห่ง แต่เจ้าหน้าทีด่ ูแล
ขับเคลื่อนนโยบายเรื่อง สุขภาพความปลอดภัยทีก่ ล่าวมาใช่หรือไม่ ความปลอดภัยทัวประเทศมี
่ ประมาณ 200 คน ไม่เพียงพอ ก่อน
นัน้ พบว่าแท้จริงแล้วส่วนใหญ่ม ักจะเป็ นแกนนาแรงงานระดับหัว ตรวจบางทีกแ็ จ้งนายจ้างทราบก่อน ทาให้ง่ายต่อการจัดฉาก
ในระดับสหภาพในสถานประกอบการณ์นนั ้ ยังคงให้ความสนใจและ
มุ่งประเด็นไปที่การ เจรจาต่ อรองเรื่องค่าแรงมากกว่า ด้านอรุณี ส่วนกลุ่มผูล้ งทุนให้ความสาคัญกับสุขภาพ ความปลอดภัยคนงาน
เห็นว่าก่อนหน้ากรณีเคเดอร์ตนเองก็ยงั ไม่ค่อยมีความรูเ้ รื่องความ น้ อ ยมาก ถึ ง แม้ เ ราสร้า งกลไกให้แ รงงานมีส่ ว นร่ ว มได้ แต่ ถ้ า
ปลอดภัย ยังไม่รู้ว่าในโรงงานควรมีมาตรการเกี่ยวกับเรื่อ งความ บุค ลากรของแรงงานไม่ มีค วามรู้ ไม่ อิส ระจากนายจ้า ง มัน ก็ไ ม่
ปลอดภัย ต้องมีทางหนีไฟ ต้องมีไฟส่ งสัญญาณ หรือไม่ แต่หลัง สามารถถ่ วงดุลอานาจกับนายจ้างได้ กลไกอย่างคณะกรรมการ
เหตุการณ์นนั ้ พบได้ว่าสหภาพเริม่ ไปพูดคุยเรื่องความปลอดภัยกับ ความปลอดภัย มันต้องมีมาตรการพิเศษทีจ่ ะไม่ถูกกลันแกล้ ่ งหรือ
นาย จ้า ง เมื่อ ระยะเวลาการท าความเข้า ใจกับ เรื่อ งนี้ สหภาพ เลิกจ้าง อยากให้มองฝา่ ยคนงาน มันต้องมีกระบวนการทาให้เขาให้
แรงงานก็เริม่ มีขอ้ เสนอ มีขอ้ เรียกร้องเกี่ยวกับเรื่องสุขภาพความ ความสาคัญ
ปลอดภัย แต่กย็ งั ไม่มากเท่าทีค่ วรเมื่อเทียบกับการยื่นข้อเรียกร้อง
เรื่องโบนัสค่า แรงต่างๆ ทัง้ นี้เรื่องสุขภาพความปลอดภัยสามารถนามาเป็ นเครื่องมือจัดตัง้
สหภาพให้เ ข้ม แข็ง ได้ โดยวิธีก ารคือ เราต้อ งจัด กิจ กรรมอย่ า ง
ที่ประชุมอภิปรายถึงสถานการณ์ เมื่อปี 2553 ที่ ผ่านมา พบว่า ต่อเนื่อง ให้คนงานตระหนัก เข้าใจ ใครยังไม่เป็ นสมาชิกสหภาพก็
โดยทัวไป ่ เรื่องสุขภาพความปลอดภัย ป ญ ั หาไม่ ได้น้อยลง แต่ ชวนเข้า สหภาพโดยใช้ประเด็นสุขภาพความปลอดภัยนี้ เพราะ
รูปแบบซับซ้อนขึน้ เช่น กรณีโรงงานทอผ้าห่ม คนงานเกิดอุบตั เิ หตุ นายจ้า งจะไม่ ค่ อ ยขัด ขวาง และควรมีก ารจัด การศึก ษาอย่ า ง
จากเครื่องจัก ร บริษัทให้คนงานหยุ ดงานไปแต่ ไม่ ให้แ จ้ง ว่าเป็ น สม่าเสมอ
อุบ ัติเ หตุ ให้แ จ้ง ว่า ได้รบั อุบ ัติเ หตุ นอกโรงงานเพื่อ ให้ไปใช้สทิ ธิ
ประกันสังคม แทนทีจ่ ะใช้สทิ ธิกองทุนทดแทน ซึง่ การปกปิ ดข้อมูล โดยที่ป ระชุม มีข้อเสนอแนะว่า สหภาพแรงงานควรผลักดันเรื่อ ง
สุขภาพความปลอดภัยดังนี้
คนทำงำน มกรำคม 2554 >> 15
- ต้องผลักดันให้มกี ารกาหนดในกฎหมายว่า การตรวจสอบด้าน ทัง้ นี้ ในการประชุมมีการหยิบยกประเด็นปญั หาผลกระทบในด้าน
ความปลอดภัยในโรงงานนัน้ ต้อ งให้สหภาพแรงงานเป็ นผู้ร่ ว ม สุขภาพความปลอดภัยของคนงาน โดยสหภาพแรงงานควรเข้ามามี
ตรวจด้วย บทบาทเรียกร้องให้บริษทั เข้ามาเป็ นผูร้ บั ผิดชอบใน ภาระค่าใช้จ่าย
- สหภาพ แรงงานต้องมีนโยบายเรื่องความปลอดภัยอยู่ใน ต่อคนงานทีไ่ ด้รบั ผลกระทบด้านสุขภาพและความปลอดภัยมากขึน้
แผนงานของสหภาพ เก็บข้อมูลของโรงงานตนเอง เพื่อนามาสู่การ อีก ด้ ว ย ยกตัว อย่ า งเช่ น กรณี ข้อ เรีย กร้ อ งหนึ่ ง ของสหภาพ
จัดทาข้อเรียกร้องเพื่อปรับปรุงสภาพการจ้าง แรงงานคนทายางที่ย่นื ต่ อบริษัทกู๊ดเยียร์ จากัด (มหาชน) ในปี ท่ี
- สหภาพ แรงงานต้องเข้าไปมีส่วนร่วมในการตัดสินใจการ แล้ว ให้บริษทั จ่ายค่ารักษาพยาบาลคนงานทีเ่ กษียณอายุแล้วต่อไป
บริห าร เช่ น ในสมาพันธ์ร ัฐวิสากิจ สัมพัน ธ์เ สนอให้สหภาพเป็ น อีก 5 ปี เนื่องจาก พบว่าคนงานในอุตสาหกรรมนี้เป็ นผู้ทท่ี างาน
บอร์ดด้วย อย่างน้อยได้เข้าไปนังฟ ่ งั และเสนอความเห็นได้ หนักอย่างยาวนาน และหลังเกษียณอายุจะเกิดความเจ็บป่วยหรือ
- ถ้าบริษทั สนใจในเรื่องนี้ จะให้ทุกแผนกมาร่วมประชุมทุกเช้า ทุพพลภาพอันเนื่องมาจากการทางาน ซึง่ บริษทั น่ าจะช่วยรับภาระ
ตรวจเรื่องความปลอดภัยแล้วแก้ไข แต่ ตามกฎหมายกาหนดว่า ค่าใช้จ่ายในส่วนนี้ดว้ ย ไม่เพียงปล่อยให้เป็ นภาระของรัฐบาลเพียง
เดือนละ 1 ครัง้ อย่างเดียว
- จัดงานสัปดาห์ความปลอดภัยในโรงงาน เปิ ดเผยข้อมูลทัง้ ปี
เพื่อกระตุน้ ให้คนคานึงถึงเรื่องนี้ โดยนายจ้างกับลูกจ้างร่วมกันเป็ น หมายเหตุ *โครงการวิจยั “บทบาทสหภาพแรงงานในการทางาน
เจ้าภาพ ด้านสุขภาพความปลอดภัย ” อยู่ภายใต้ “แผนพัฒนาคุณภาพชีวติ
- สหภาพแรงงานควรอบรมเรื่องความปลอดภัยให้คนงานอย่าง แรงงาน” สนับสนุ นโดยสานักงานกองทุนสนับสนุ นการสร้างเสริม
จริงจัง นอกเหนือจากเรื่องสิทธิแรงงาน สุขภาพ (สสส.)
- สหภาพ แรงงานควรบรรจุเรื่องสุขภาพความปลอดภัยเข้าไปใน
ข้อเรียกร้องประจาปี โดยให้ความสาคัญไม่น้อยกว่าการเรียกร้อง
โบนัส และค่าตอบแทนจากการทางานต่างๆ

16 << คนทำงำน มกรำคม 2554


จับตาประเด็นร้อน >>

ประธานคณะกรรมการสมานฉันท์แรงงานไทยคนใหม่เน้นทางานอย่างมีส่วนร่วม
เมื่อ วัน ที่ 29-30 องค์กรคือความเป็ นอิสระ ทางานเพื่อผลประโยชน์ของผูใ้ ช้แรงงาน
มกราคม 2554 ทุกกลุ่ม
คณะกรรมการ
ประเด็ น เร่ ง ด่ ว นขณะนี้ คื อ การผลั ก ดั น ร่ า งพระราชบั ญ ญั ติ
ส ม า น ฉั น ท์ ประกันสังคม พ.ศ. ... ทีไ่ ด้ผ่านวาระ 1 สภาผูแ้ ทนราษฎรแล้ว มี
แ รง ง า นไ ท ย การต้อง 2 ผูน้ าแรงงาน คือคุณวิไลวรรณ แซ่เตีย คุณชัยสิทธิ สุข
(คสรท.) สมบูรณ์ เป็ นกรรมาธิการวิสามัญ ร่างกฎหมาย อันนี้กต็ ้องจับตาดู
ร่ว มกับ มูลนิ ธิพร้อ มกับ หนุ น ช่ ว ยกัน เพื่อ ให้ก ฎหมายออกมาแล้ว ตรงตาม
ฟรีดริค เอแบร์ท ได้มกี ารจัดประชุมสรุปงานประจาปี 2553 และได้มี เจตนารมณ์ กรณีการรับรองอนุ สญ ั ญาองค์การแรงงานระหว่าง
การเลือ กตัง้ คณะกรรมการบริหารงานคณะกรรมการสมานฉัน ท์ ประเทศฉบับที่ 87 และ98 เรื่องการคุม้ ครองสิทธิการจัดตัง้ องค์กร
และเจรจาต่อรอง ซึงได้ผ่านมติคณะรัฐมนตรีเรียบร้อย จ่อเข้าสูส่ ภา
แรงงานชุดใหม่ เนื่องจากชุดเดิมทีม่ นี างสาววิไลวรรณ แซ่เตีย เป็ น
ซึ่งก็มกี ารร่าง พ.ร.บ.แรงงานสัมพันธ์ พ.ศ. ....(ฉบับขบวนการ
ประธานได้หมดวาระลงโดยมีสมาชิกเข้าร่วมจานวนกว่า 70 คน แรงงาน) ให้พร้อมเข้าสูส่ ภาเพื่อประกบกับของกระทรวงแรงงาน ก็
จากองค์กรสมาชิก 30 กว่าองค์กร เป็ นประเด็นเร่งด่วน ยังมีเรื่องกฎหมายความปลอดภัย เรื่องการ
คุ้มครองแรงงานนอกระบบ แรงงานข้ามชาติ ฯลฯ และประเด็น
คณะกรรมการสมานฉั น ท์ แ รงงานไทยชุ ด ใหม่ ประกอบด้ ว ย
ปญั หาเร่งด่ว นเช่น วันนี้ คนงานที่เป็ นสมาชิกในส่วนของกลุ่ ม
1. นายชาลี ลอยสูง เป็ นประธานฯ 2. นายสาววิไลวรรณ แซ่เตีย รอง สหภาพแรงงานภาคตะวันออกทีถ ่ ูกนายจ้าง ละเมิดสิทธิแรงงาน
ประธาน 3. นายชัยสิทธิ ์ สูขสมบูรณ์ รองประธาน 4. นายบุญสม ทา กรณีคนงานแม็กซิสทีน่ ายจ้างปิ ดงาน ยื่นข้อเรียกร้องต่อสหภาพ
วิจติ ร เลขาธิการ 5. นายยงยุทธ เม่นตะเภา กรรมการอานวยการ 6. แรงงานเพื่อของเปลีย่ นแปลงสภาพการจ้างใหม่ คนงานฟูจสิ ึ ทีถ่ ูก
นางสุจนิ รุ่งสว่าง กรรมการอานวยการ 7.นางสาวธนพร วิจนั ทร์ นายจ้างปิ ดงาน และขอเปลีย่ นแปลงสภาพการจ้าง เช่นกัน รวมทัง้
กรรมการอานวยการ กรณีพซี ีบที ่โี รงงานไฟไหม้ ประกาศปิ ดงานตัง้ แต่ เดือนมิถุนายน
2553 วันนี้ประกาศเลิกจ้าง ไม่จ่ายค่าชดเชยตามกฎหมาย ซึง่ เป็ น

ทัง้ นี้ ยังมีกรรมการทีม่ าจากองค์กรสมาชิกร่วมเป็ นกรรมการบริหาร การเปิ ดประเด็นปลายปี 2553 จนปี 2554 ทีร่ ฐั เองยังแก้ปญหาให้
ด้วย นายชาลี ลอยสูง ประธานคณะกรรมการสมานฉันท์แรงงาน คนงานได้รบั สิทธิสวัสดิการทีเ่ ป็ นธรรมไม่ได้ปล่อย ให้คนงานถูก
ไทยคนใหม่ได้กล่าวถึงการทางานว่า การทางานของ คสรท.ทางาน กระทา ถูกละเมิดสิทธิปิดงาน ไกล่เกลีย่ ภายใต้สถานการณ์ทก่ี ดดัน
มุ่งเน้นในการแก้ไขปญั หา เสนอนโยบาย และตรวจสอบการทางาน คนงานตลอด ซึง่ วันที่ 30 มกราคม 2554 คนงานได้เข้ามาขอความ
ของภาครัฐมาโดยตลอด รูปแบบการทางานได้ถูกวางไว้อย่างเป็ น ช่วยเหลือจาก คสรท.เพื่อให้ช่วยกันระดมแนวทางช่วยเหลือ เพราะ

ระบบ คิดว่าการทางานของตนคงยังทางานตามเจตนารมณ์ทว่ี างไว้ ค น ง า น ไ ด้ ก า ห น ด ร่ ว ม กั น เ รื่ อ ง เ ดิ น ท า ง น า ป ญ ห า ม า ใ ห้

และทีม คณะท างานก็ย ัง คงต้อ งช่ ว ยกัน ท างานเช่ น เดิม เน้ น การ นายกรัฐมนตรีแก้ไขปญหา ซึ่งจะเริม่ เดินในวันที่ 1 กุมภาพันธ์
ทางานเป็ นทีม ประธานคนเก่าก็ยงั นัง่ อยู่ในตาแหน่ งที่สามารถ 2554 หลังการเจรจาวันที่ 31 มกราคมนี้ไม่ยุติ โดยมีคนงานฟูจสิ ึ
ทางาน เพื่อเรียนรูท้ างานร่วมกัน ในช่วงที่รบั ตาแหน่ งจะทางาน คนงานพีซบี ี ในส่วนของคสรท.ได้ระดมทุนช่วยเหลือในนามองค์กร
อย่างเต็มที่ แม่คงต้องช่วยเต็มที่ นายชาลีกล่าว

คสรท. ต้องทางานร่วมกันกับองค์กรแรงงานอื่นๆ ช่วงที่มปี ญั หา ประธานคนเก่ า มอบงานย ้า ท างานเคี ย งข้ า งไม่ ทิ้ ง คนงาน
ทางการเมืองที่มสี มาชิกแรงงานบางกลุ่มที่ขาดการเข้ามาร่วมทา นางสาววิไลวรรณ แซ่เตีย อดีตประธานคณะกรรมการสมานฉันท์
กิจกรรม ตนคิดว่าภายใต้การทางานของตนจะเปิ ดเวทีเข้าไปเยีย่ ม แรงงานไทย กล่าวว่า แสดงความยินดีกบั ประธานคนใหม่และยินดี
เยือนเพื่อไถ่ถามดึง สมาชิกกลับมาร่วมกันทางาน รวมถึงองค์กรที่ ทางานร่วมในตาแหน่ งรงประธาน พร้อมบอกว่าการทางานต้องไม่
เป็ นพีน่ ้องแรงงานกลุ่มอื่นๆ ทีท่ งั ้ เห็นด้วยหรือไม่เห็นด้วย ในการ ยึดติดตาแหน่ง ทางานได้ทุกหน้าที่ หากประธานต้องการให้ช่วยทา
ทางานของคณะกรรมการสมานฉันท์แรงงานไทยก็จะเข้าไปพูดคุย อะไรก็ยนิ ดี
หาแนวทางการท างานร่ ว มโดยอย่ า งไร ยัง คงแนวทางเดิม ของ

คนทำงำน มกรำคม 2554 >> 17


ประเด็นการทางานตนก็อยู่ในตาแหน่ งประธานมาแล้วถึง 2 วาระ ร่างกฎหมายแรงงานที่อยู่ในสภามีหลายฉบับ ซึ่งเราต้องเข้าไปมี
งานขับเคลื่อนทัง้ นโยบาย การแก้ไขกฎหมาย การคุม้ ครองแรงงาน ส่วนร่วม เพราะหากออกมาไม่ดพี อก็จะเป็ นปญั หาเกิดผลกระทบ
การตรวจสอบการบริหารงานของรัฐ และกระทรวงแรงงาน เช่น กับพีน่ ้องผูใ้ ช้แรงงานที่ เป็ นคนส่วนใหญ่ของสังคมทุกประเด็นทาง
ประกันสังคม ความหลากหลายของปญั หาทัง้ แรงงานในระบบ นอก สังคม คือบทบาทของเราในฐานะองค์กรแรงงาน / นักสื่อสาร
ระบบ ข้ามชาติ กรณีการละเมิดสิทธิแรงงาน ก็คงต้องช่วยกัน แรงงาน โครงการการพัฒนาสือ่ (www.voicelabour.org) รายงาน
ทางานแก้ปญั หา ทางานเชิงรุกด้วยรวมถึงการทางานสร้างแนวร่วม
อัยการสั่งฟ้อง 3 แกนนาคนงาน ชุมนุมเกินสิบคนก่อความ
27 ม.ค. 54 มีอดีตคนงานบริษทั ไทรอัมพ์ อินเตอร์เนชันแนล
่ ราว 40 คน มาให้
ทีส่ านักงาน กาลังใจ ล่าสุดจาเลยทัง้ สามได้รบั การประกันตัวในชัน้ ศาลแล้ว ด้วย
อั ย ก า ร หลักทรัพย์วงเงินคนละ 200,000 บาท โดย น.ส.สุดา รังกุพนั ธุ์
พิ เ ศษฝ่ า ย อาจารย์ประจาคณะอักษรศาสตร์ จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย เป็ น
ค ดี อ า ญ า นายประกัน น.ส.จิตราและ น.ส.บุญรอด และ นายสุชาติ ลายน้าเงิน
10 ส.ส.พรรคเพื่อไทย เป็ นนายประกัน นายสุนทร โดยศาลนัดตรวจ
ส านั ก งาน พยานหลักฐาน ในวันที่ 28 มี.ค.นี้ เวลา 9.00 น.
อั ย ก า ร
สู ง สุ ด สาหรับการชุมนุ มเมื่อวันที่ 27 ส.ค.52 นัน้ เป็ นการชุมนุ มของ
พ นั ก ง า น คนงานจากสหภาพแรงงานไทรอัมพ์อนิ เตอร์เนชันแนลแห่ ่ งประเทศ
อัยการมีความเห็นสังฟ ้
่ อง น.ส.จิตรา คชเดช ที่ปรึกษาสหภาพ ไทย, สหภาพแรงงานอิเล็กทรอนิกส์และ แม็คคานิคส์ ในเครือ
แรงงานไทรอัมพ์ฯ น.ส.บุญรอด สายวงศ์ อดีตเลขาธิการสหภาพ บริษัทเอนี่ออน อิเล็กทรอนิกส์ (ไทยแลนด์) จากัด และคนงาน
ฯ และนายสุนทร บุญยอด เจ้าหน้าที่สภาศูนย์กลางแรงงาน ใน บริษัท เวิลด์เวลล์การ์เม้นท์ พร้อมองค์กรแรงงานและประชาชน
ข้อหามัวสุ
่ มกันตัง้ แต่ 10 คนขึน้ ไป กระทาการอย่างหนึ่งอย่างใดให้ กว่า 1,000 คน ไปยังทาเนียบรัฐบาลและรัฐสภา เพื่อติดตามความ
เกิดความวุ่นวายในบ้านเมือง โดยเป็ นหัวหน้า หรือ ผู้สงการเมื ั่ ่อ คืบหน้ าในการแก้ไขปญั หาหลังจากได้ย่นื เรื่องต่ อนายกรัฐมนตรี
เจ้าพนักงานสังให้
่ เลิกแล้วไม่เลิก (กฎหมายอาญา มาตรา 85, 215 ก่อนหน้านัน้ โดยในวันดังกล่าว มีการใช้เครื่องขยายเสียงระดับไกล
และ 216) จากเการชุมนุ มของคนงานเมื่อวันที่ 27 ส.ค.52 โดย หรือ LRAD กับผูช้ ุมนุ มด้วย ซึง่ หลังจากนัน้ นักกิจกรรมกลุ่มหนึ่ง
พนักงานอัยการได้ยกฟ้องข้อหากีดขวางทางจราจร (พ.ร.บ.จราจร ได้ทาหนังสือประณามการกระทาของเจ้าหน้าทีต่ ารวจ เรียกร้องให้
ทางบก มาตรา 108) เนื่องจากคดีหมดอายุความ ทัง้ นี้พนักงาน ถอนการออกหมายจับโดยทันที รวมถึงเรียกร้องให้รฐั บาลและ
อัยการได้สง่ ตัวผูต้ อ้ งหาทัง้ สามนาไปฝากขังทีศ่ าลอาญารัชดา โดย คณะกรรมการสิทธิมนุ ษยชนแห่งชาติ ดาเนินการตรวจสอบการ
ละเมิดสิทธิมนุษยชนของเจ้าหน้าทีต่ ารวจด้วย / ประชาไท รายงาน

18 << คนทำงำน มกรำคม 2554


ความเคลื่อนไหวแรงงานไทย >>

เผยต้ น ปี 54 เริ่ ม บัง คับ ใช้ ค่ า จ้ า งตามมาตรฐานฝี มื อ แรงงาน 22 งานและจานวนเงินทีล่ ูกจ้างต้อง ส่งเข้ากองทุนเพื่อการส่งคนต่างด้าวกลับ
สาขา ออกไปนอกราชอาณาจักร และหลักเกณฑ์และวิธกี ารในการส่งเงิน การ
ออกใบรับ หนังสือรับรอง และใบแทนหนังสือรับรองการส่งเงิน พ.ศ.2553
2 ม.ค. 54 – ปลัดฯ แรงงาน เผยต้นปี 54 เริ่ม บังคับใช้ค่าจ้างตาม
เพื่อยืดเวลาเรียกเก็บเงินค่าประกันจากลูกจ้าง 3 สัญชาติ คือ พม่า ลาว
มาตรฐานฝี ม ือ แรงงาน เริ่ม ใน 22 สาขา พร้อ มเร่งคลอดอีกกว่า 100
และกัมพูชา เพื่อส่งเข้ากองทุนดังกล่าว ในอัตราคนละ 2,400 บาท และ
สาขา ชี้ สร้างแรงจูงใจให้แรงงานพัฒนาตนเอง เผยหากนายจ้างฝา่ ฝื นมี
2,100 บาท ออกไปจากที่มผี ลตัง้ แต่วนั ที่ 27 ธันวาคม 2553 เป็ นวันที่ 1
โทษทัง้ จาทัง้ ปรับ นพ.สมเกียรติ ฉายะศรีวงศ์ ปลัดกระทรวงแรงงาน
มีน าคม 2555 เนื่ อ งจากหากให้น ายจ้า งหัก เงิน ค่ า จ้า งจากลู ก จ้า ง 3
เปิ ดเผยว่า ต้นปี 2554 กระทรวง แรงงาน จะเริ่ม บัง คับใช้ค่าจ้า งตาม
สัญชาติ ส่งเข้ากองทุนในช่วงเวลานี้จะมีปญั หาคาบเกี่ยวกับการต่ออายุ
มาตรฐานฝีมอื แรงงาน เพื่อให้เกิดความเป็ นธรรมกับแรงงานที่มฝี ี มอื และ
ใบอนุญาตทางาน อาจเป็ นเหตุให้ลูกจ้าง 3 สัญชาติ จานวนมากไม่ย่นื ต่อ
สร้างแรงจูงใจให้แรงงานพัฒนาตัวเอง ให้ได้รบั ค่าจ้างที่สูงขึน้ รวมถึงลด
อายุใบอนุ ญาตทางาน และหลบหนีออกนอกระบบการผ่อนผัน ซึ่งจะไม่
ปญั หาการเรียกร้องขึน้ ค่าจ้างขัน้ ต่ า โดยได้ล่าสุดได้จดั ทามาตรฐานฝี มอื
เป็ นผลดีต่อระบบการบริหารจัดการแรงงานต่างด้าวของประเทศโดยรวม
แรงงานเสร็จสิ้น แล้วจานวน 22 สาขา ในกลุ่ม อาชีพ 6 ด้าน ซึ่งแต่ล ะ
(สานักข่าวแห่งชาติ, 4-1-2554)
สาขาจะมีค่าจ้าง 3 ระดับ ไม่เท่ากัน เริม่ ตัง้ แต่ 250 -550 บาท โดยอยู่ใน
ระหว่ า งรอลงประกาศในราชกิ จ จานุ เ บกษา เพื่อ ให้ ม ี ผ ลบัง คับ ใช้ ผวจ.ระนองสั ่งคุมเข้มแรงงานพม่าห้ามเคลื่อนไหวการเมือง
ขณะเดีย วกัน กระทรวงแรงงานจะเร่ง จัดท ามาตรฐานฝี ม ือ แรงงานใน
4 ม.ค. 53 - นาย วัน ชาติ วงษ์ ช ัย ชนะ ผู้ ว่ า ราชการจัง หวัด ระนอง
สาขาที่เ หลือ ซึ่ง คาดว่า ภายในปี 2554 จะประกาศใช้ไ ด้อีก กว่า 100
เปิ ดเผยว่า ทางจังหวัดระนองได้ประสานหน่ วยงานด้านความมั ่นคงใน
สาขา นอกจากนี้ ยังได้ส ั ่งให้กรมพัฒนาฝี มอื แรงงาน เตรียมจัดมาตรฐาน
พื้นที่กาชับให้สอดส่อ ง เฝ้าสังเกตุ และติดตามพฤติกรรมของกลุ่มผู้ใช้
การทดสอบให้ครอบคลุมทุกจังหวัด โดยอาจร่วมมือกับหน่ วยงานรับและ
แรงงานต่างด้าวชาวพม่าในเขตพืน้ ที่ จ.ระนอง ไม่ให้มกี ารจัดกิจกรรมใน
เอกชน เช่น สานักงานคณะกรรมการการอาชีวศึกษา หรือภาคเอกชน
ลักษณะการรวมกลุ่มขนาดใหญ่ ซึง่ อาจจะนาไปสู่การเคลื่อนไหวรวมกลุ่ม
ร่วม จัดทดสอบมาตรฐาน ทัง้ นี้หากกฎหมายดังกล่าวมีผลบังคับใช้แล้ว
ที่ท ากิจ กรรมทางการเมือ ง "ที่ผ่า นมาพบว่าชาวพม่าพยายามที่จะ ใช้
แต่นายจ้างรายใดยังฝ่าฝื น ไม่จ่ายค่าจ้างตามมาตรฐานฝี ม ือแรงงานที่
กิจกรรมมาเป็ นตัวช่วยในการดึงกลุ่มผู้ ใช้แรงงานต่างด้าวชาวพม่าในเขต
ลูกจ้างได้รบั จะมีอตั ราโทษสูงสุดจาคุกไม่เกิน 6 เดือน หรือปรับไม่เกิน
พืน้ ที่ จ.ระนองให้ออกมารวมกลุ่มอาทิการจัดคอนเสิร์ต ศิลปิ นชาวพม่า
100,000 บาท หรือ ทัง้ จ าทัง้ ปรับ นพ.สมเกียรติ กล่า วอีก ว่า สาหรับ
การจัดเทศนาโดยพระชื่อดังชาวพม่า ซึ่งในปี น้ีทางจังหวัดจะคุมเข้มไม่ให้
ค่าจ้างตามมาตรฐานฝีมอื แรงงาน จานวน 22 สาขา ในกลุ่มอาชีพ 6 ด้าน
มีการดาเนิ นกิจกรรมในรูปแบบดังกล่าว เนื่ อ งจากเสี่ยงต่อ ปญั หาที่จ ะ
อาทิ กลุ่มช่างเครื่องกล 3 สาขา เช่น ช่างสีรถยนต์ ระดับ 1 ได้ค่าจ้าง
ตามมาในอนาคต" นายวันชาติ กล่าว นายวันชาติ กล่าวว่า แรงงานพม่า
315 บาท ระดับ 2 ค่าจ้าง 380 บาท และระดับ 3 ค่าจ้าง 444 บาท ช่าง
ที่เ ข้า มาท างานใน จ.ระนองขณะนี้ ม ีเ ป็ น จ านวนมาก ซึ่ ง หากมีก าร
เคาะตัวถังรถยนต์ ระดับ 1 ค่าจ้าง 335 บาท ระดับ 2 ค่าจ้าง 420 บาท
รวมกลุ่มทากิจกรรมใดๆ เกิดขึ้นก็อาจจะพัฒนาไปสู่กิจกรรมที่จะส่งผล
ระดับ 3 ค่าจ้าง 505 บาท กลุ่มก่อสร้าง 4 สาขา อาทิ ช่างก่ออิฐ ระดับ
กระทบต่ อ ประเทศไทย โดยเฉพาะการใช้ พ้ืน ที่ ป ระเทศไทยในการ
1 ค่าจ้าง 260 บาท ระดับ 2 ค่าจ้าง 380 บาท และระดับ 3 ค่าจ้าง 500
รวมกลุ่ ม ต่ อ ต้ า นรับ าลทหารพม่ า ซึ่ ง ทางจัง หวัด จะไม่ ย อมให้ เ กิ ด
บาท ช่างฉาบปูน ระดับ 1 ได้ค่าจ้าง 300 บาท ระดับ 2 ค่าจ้าง 410 บาท
เหตุการณ์ดงั กล่าวขึน้ พ.อ.พรศักดิ ์ พูลสวัสดิ ์ ผูบ้ งั คับการหน่ วยเฉพาะกิจ
และระดับ 3 ค่าจ้าง 500 บาท เป็ นต้น (สานักข่าวไทย, 2-1-2554)
กรมทหารราบที่ 25 กอง ก าลัง เทพสตรี กล่ า วว่า การปล่ อ ยให้ก ลุ่ ม
ครม.ยืดเวลาเก็บเงินกองทุนส่งกลับต่างด้าว ไป 1 มี.ค.55 แรงงานต่างด้าวรวมกลุ่มทากิจกรรมใดกิจกรรมหนึ่ง เป็ นสิง่ ที่น่าเป็ นห่วง
มาก และผลจากการควบคุ ม ที่เ ข้ ม ข้น ในการไม่ อ นุ ญ าติใ ห้ มีก ารจัด
4 ม.ค. 54 - คณะ รัฐมนตรี อนุ มตั ิให้ยดื เวลาเก็บเงินลูกจ้างสัญชาติพม่า
กิจกรรมในพืน้ ทีท่ า ให้กลุ่มผูใ้ ช้แรงงานพม่าหันมาใช้วดั ในการพบปะแทน
ลาว และกัมพูชา ที่ต้องส่งเข้ากองทุนเพื่อการส่งคนต่างด้าวกลับออกไป
โดยการรวมกลุ่ม เข้าไปบริจาคสร้างสิง่ ถาวรวัตถุ อาทิพระพุทธรูปทรง
นอกราชอาณาจักร เป็ นวันที่ 1 มีนาคม 2555 เพื่อ ไม่ให้ม ีปญั หาคาบ
พม่า ซึง่ ขณะนี้เกิดขึน้ ในหลายวัดในเขตพื้นที่ จ.ระนอง ซึ่งทางฝา่ ยความ
เกี่ยวกับการต่อ อายุใบอนุ ญ าตทางาน นายวัชระ กรรณิการ์ รองโฆษก
มั ่นคงกาลังประสาน สนง.พระพุทธศาสนา จ.ระนองให้เข้าไปดูแลในเรื่อง
ประจ าส านั ก นายกรัฐ มนตรี เปิ ด เผยว่ า คณะรัฐ มนตรี อนุ ม ัติต ามที่
ดังกล่าวแล้ว (เนชั ่นทันข่าว, 4-1-2553)
กระทรวงแรงงาน เสนอขยายระยะเวลาการบังคับใช้กฎกระทรวงกาหนด

คนทำงำน มกรำคม 2554 >> 19


สหภาพฯขวาง ขสมก. ขายเส้นทางให้เอกชน ลูกจ้างมาจ่าย ค่าชดเชยเพื่อบรรเทาความเดือดร้อนให้กบั ลูกจ้างไปก่อน
ในวงเงิน 4 ล้านบาท. (เดลินิวส์, 7-1-2554)
เมื่อวันที่ 6 มกราคม ที่ผ่านมา สหภาพแรงงานรัฐวิสาหกิจองค์การขนส่ง
มวลชนกรุง เทพ (สร.ขสมก.) ได้อ อกแถลงการณ์ ฉ บับ ที่ 1 เรื่อ งการ สมาชิ กสหภาพแรงงานถูกผู้บริ หารแจ้งความข้อหา “ทาให้กลัวหรือ
คัดค้านขสมก.ขายเส้นทางเดินรถให้เอกชน ในเส้นทาง สาย 60,2,138 ตกใจ”
และ142 โดย อ้ า งว่ า รถของขสมก.มี ไ ม่ เ พีย งพอต่ อ การให้ บ ริ ก าร
7 ม.ค. 54 ที่ผ่านมา สหภาพแรงงานไทยอินดัสเตรียลแก๊สได้แจ้งข่าวแก่
ประชาชน และมีภ าระค่าซ่อม แต่สหภาพฯมองว่าเป็ นเส้นทางหลักที่ม ี
สหภาพแรงงานต่างๆ กรณีท่ีสมาชิกสหภาพแรงงานไทยอินดัสเตรียล
รายได้ดี อีกทัง้ รถที่วิ่งอยู่ก็ยงั อยู่ในสภาพดี การที่ขสมก.อ้างว่ารถเสีย
แก๊ส จานวน 15 คน ถูกผู้บริหารของบริษทั ฯ แจ้งความดาเนินคดีขอ้ หา
บ่อย จึงถือว่าขัดต่อข้อเท็จจริงดังนัน้ สหภาพฯจะทาหนังสือถึงผู้ บริการข
ทาให้กลัวหรือตกใจ โดยเจ้าหน้าที่ตารวจ สน.บางนา มีหมายเรียกเรียก
สมก.ให้มกี ารทบทวน ยกเลิกการดาเนินการดังกล่าวแล้ว และในวันที่ 12
ผูต้ ้องหาทัง้ 15 คนจากสาขาเวลโกรว์-สมุทรสาคร-อ่อนนุ ชไปพบ 2 ครัง้
มกราคม 2554 นี้ สหภาพฯจะมีการประชุม คณะกรรมการบริหารสร.ข
นอกจากนัน้ ยังมีหมายเรียกกรรมการจากสระบุรไี ปพบอีก 1 ครัง้ ทัง้ นี้ใน
สมก. เพื่อหามาตรการในการเคลื่อนไหว เพื่อคัดค้า นต่อไป ด้านนายฉัตร
วันที่ 7 ม.ค. 54 ที่ผ่านนัน้ สหภาพฯ ได้ร่วมร่วมกันแจกแถลงการณ์ ท่ี
ชัย ชัยวิเศษ นายก สมาคมพัฒ นารถร่วมบริการเอกชน หรือ รถร่วมข
หน้ าสานักงานใหญ่ อาคารบางนาทาวเวอร์ ถนนบางนา-ตราด ก.ม.6.5
สมก.กล่าวยอมรับว่า ได้รบั ทราบเรื่อ งการขายเส้นทางเดินรถมาระยะ
จากนัน้ จึงเดินทางไปที่สานักงานอัยการ และมีการนัดหมายฟงั คาสั ่งใน
หนึ่งแล้ว หากมีการดาเนินการจริง ทาง สมาคมฯมีความพร้อมที่จะเข้า
วันที่ 2 กุมภาพันธ์ 2554 อนึ่งนอกจากที่ สน.บางนาแล้ว ในวันจันทร์ท่ี
ร่วมเดินรถแทน ขสมก. "แต่ตอนนี้ตดิ ปญั หาเกี่ยวกับความ ชัดเจนที่ ขส
10 มกราคม 2554 นี้สมาชิกของสหภาพฯ ก็จะเดินทางไปพบ เจ้าหน้าที่
มก.จะให้สมาคมฯ เสนอตัวเข้าร่วมด้วยหรือไม่ และทราบมาว่า ขสมก.ได้
ตารวจ สน.บางพลี เพราะถู ก ผู้บ ริห ารไปแจ้ง ความด าเนิ นคดีไว้อีก 1
กาหนดสเปกรถที่จะนามาวิง่ ต้องเป็ นสเปกเดียวกับรถในโครงการเช่นรถ
สถานี ข้อ หาหมิ่นประมาทด้วยการโฆษณา โดยสหภาพฯ ให้ข้อมูลว่า
เมล์เอ็นจีวี 4,000 คัน ทุกประการ" นายฉัตรชัย กล่าว (RYT9, 7-1-2554)
กรณี น้ี ค นงานยื่น เรื่อ งร้อ งทุ ก ข์ต ามขัน้ ตอนของบริษ ัท ฯ แต่ ก ลับ ถู ก
คนงานทอผ้าโวยถูกเบีย้ วค่าจ้าง ดาเนินคดี (ประชาไท, 8-1-2554)

เมื่อวันที่ 6 ม.ค. ทีก่ ระทรวงแรงงาน นางซารี ดอระวงษ์ ประธานสหภาพ พนง. บ.แม็กซิ ส ร้องผู้ว่าระยองช่วยเงินเดือน+โบนัส
แรงงาน บริษทั อริยะการทอ จากัด จ.ปทุมธานี พร้อมด้วยลูกจ้างจานวน
12 ม.ค. 54 - ที่ จ.ระยอง พนักงานของบริษทั แม็กซิส อินเตอร์เนชั ่นแนล
165 คน ได้พร้อมใจกันขี่จกั รยานมายื่นข้อเรียกร้องให้นายเฉลิมชัย ศรี
(ไทยแลนด์) จ ากัด ซึ่งผลิต ยางรถยนต์ย่หี ้อ ชื่อ ดัง จานวน500คน ไป
อ่ อ น รมว.แรงงาน ด าเนิ น การช่ ว ยเหลือ ลู ก จ้า งที่เ ดือ ดร้อ นจากกรณี
ชุมนุ มประท้วงที่หน้าศูนย์ราชการจังหวัดระยอง เพื่อยื่นหนังสือเรียกร้อง
นายจ้างสั ่งปิ ดกิจการ และไม่จ่า ยเงินชดเชยตามกฎหมายแรงงาน โดย
ขอเงินโบนัส และสวัสดิการเพิม่ จากนายจ้าง นายธวัชชัย เทอดเผ่าไทย
นายจ้างอ้างว่าขาดสภาพคล่องทางการเงินเพราะเป็ นหนี้กว่า 300 ล้าน
ผวจ.ระยอง ออกมารับ หนั ง สือ นายชัย รัต น์ บุ ษ รา ประธานสหภาพ
บาท โดยนางซารีกล่าวว่า ต้องการให้ รม ว.แรงงานสั ่งการให้นายจ้าง
แรงงานแม็ก ซิส ประเทศไทย เปิ ด เผยว่ า พนัก งานได้ร บั ค่า จ้า งและ
จ่า ยค่า บอกกล่ า วล่ วงหน้ า หากมีก ารเลิกจ้า งใน ทัน ที รวมถึง จ่า ยเงิน
สวัสดิการต่ามากโดยเฉพาะโบนัส และเงินเดือน ได้มกี ารยื่นข้อเรียกร้อง
ชดเชยให้กบั คนงานตามที่กฎหมายกาหนด เพราะที่ ผ่านมาได้เรียกร้อง
กับผู้บริหาร ตัง้ แต่วนั ที่ 25 พ.ย.53ที่ผ่านมา แต่กลับถูกผู้บริหารสั ่งปิ ด
ไปทางส านัก งานประกัน สัง คม ส านั ก งานแรงงานจัง หวัด กระทรวง
โรงงานอ้างว่าเครื่องจักรเสีย แล้วนาแรงงานต่างชาติ กว่า 300 คนเข้ามา
อุตสาหกรรม แล้ว แต่ก็ยงั นิ่งเฉยอยู่ จึงหวังว่าทางกระทรวงแรงงานจะ
ทางานแทน อาจจะนาไปสู่การปล่อยลอยแพพนักงาน ด้าน นายธวัชชัย
เป็ นที่พ่งึ สุดท้ายให้กบั ลูกจ้าง ด้านนายสมชาย วงษ์ทอง รองอธิบดีกรม
ผวจ.ระยองได้นดั ให้กลุ่มสหภาพแรงงาน และนายจ้างมาตกลงกันในวันที่
สวัสดิการและคุ้มครองแรงงาน กล่าวภายหลังรับหนังสือ ร้องเรียนฯ ว่า
13 ม.ค.นี้ กลุ่มผูช้ ุมนุมพอใจแยกย้ายกันกลับ (โพสต์ทูเดย์, 12-1-2554)
ทางกระทรวงจะส่งพนักงานตรวจแรงงานลงไปสืบสวนข้อ เท็จจริง และ
เจรจาร่วมกับนายจ้างในวันที่ 7 ม.ค.เพื่อหาข้อยุติ ทัง้ นี้ถ้ากรมสวัสดิการฯ สหรัฐฯ ตัง้ ข้อหาชาวมะกันเพิ่มฐานล่อลวงแรงงานไทยร่วม 400 คน
เห็น ว่ า นายจ้า งควรปิ ด กิจ การก็จ ะออกหนั ง สือ ค าสั ่งให้ นายจ้า งจ่ า ย
ค่าชดเชยตามอายุงานภายใน 30 วัน ให้กบั ลูกจ้าง คิดเป็ นมูล ค่ากว่า 12 15 ม.ค. 54 - คณะลูกขุนใหญ่ของศาลฮอนโนลูลูส ั ่งฟ้องโจเซฟ นอลเลอร์
ล้ า นบาท แต่ ห ากนายจ้า งไม่ จ่ า ยก็จ ะมีก ารยึด ทรัพ ย์ อย่ า งไรก็ต าม และบรูซ ชวาร์ตซ์ พร้อมกับจาเลยร่วมอีก 6 คน ซึ่งถูกตัง้ ข้อหาไปก่อน
ระหว่างที่ยงั ไม่สามารถยึดทรัพย์ได้กจ็ ะนาเงินจากกองทุนสงเคราะห์ ในเดือ นกัน ยายนปี ท่ีผ่า นมา ฐานล่ อ ลวงชาวไทยราว 400 คน ไปใช้
แรงงานในสหรัฐ ฯ ตัง้ แต่ ปี 2001-2007 นอกจากนี้ ผู้ท่ี ถู ก ตัง้ ข้อ หา

20 << คนทำงำน มกรำคม 2554


เดียวกันยังได้แก่ มอ์เดไช โอเรียน ชาวอิสราเอล ปราณี ทับชุมพล เชน สหภาพแรงงานฯ ได้ระบุวา่ เวลาประมาณ 06.15 น. รองประธานสหภาพ
เจอร์แมนน์ และ แซม วงศ์สนิท จากบริษทั โกลบอล ฮอไรซันส์ แมนพาว ฯ คือนายชัยพร ทาเชาว์ ได้ถูกทาร้ายร่างกาย และนายชัยพรได้เข้าแจ้ง
เออร์ ในลอสแองเจลิส อัย การระบุ ว่ า จ าเลยเหล่ า นั น้ ได้ ร่ ว มมือ กับ ความที่ สภ.บ่อวิน สาขาบึง ว่าได้ถูกหัวหน้างานคนหนึ่งของบริษทั และ
รัตวรรณ ชุณหฤทัย และพจนี ย์ สินชัย นายหน้ าจัดหาแรงงาน กระท า พวกรุมทาร้ายร่างกาย โดยสหภาพแรงงาน เจเนอรัลมอเตอร์ส ประเทศ
ความผิด ซึ่งเริ่ม จากหลอกให้สญ ั ญาว่าจะได้ท างานที่ม ีค่าตอบแทนสูง ไทย ระบุว่านายชัยพร นอกจากเป็ น รองประธานสหภาพแล้ว ยัง เป็ น
อย่า งไรก็ตาม เมื่อ ถึงสหรัฐ ฯ แรงงานไทยเหล่ านัน้ กลับ ถูกยึดหนังสือ ตัว แทนเจรจาข้อ เรีย กร้อ งฝ่า ยสหภาพแรงงาน และได้ใ ห้ป ากค าแก่
เดินทางและบังคับให้ต้องจ่ายเงินหลาย พันดอลลาร์เป็ นค่าธรรมเนี ยม เจ้าหน้ าที่ตารวจว่าตนเองไม่เคยมีเรื่องกับใครมาก่อน นอกจากการเป็ น
การสมัค รงาน ซึ่ ง ท าให้ พ วกเขาต้ อ งเป็ น หนี้ โดยน าทรั พ ย์ สิน ของ ตัวแทนของพนัก งานในการนาเรื่อ งเข้า หารือ กับผู้บริหาร ในเรื่อ งการ
ครอบครัวและบ้านไปเป็ นหลักทรัพย์ค้าประกัน กระทรวงยุติธรรมแถลง เปลีย่ น Line ผลิต ใหม่ทม่ี จี ดุ ทางานไม่ปลอดภัยหลายจุด ซึ่งหลายครัง้ ได้
ทัง้ นี้ จาเลยกลับจ่ายค่าแรงให้กบั คนงานเหล่านัน้ ในราคาต่ า และบังคับให้ มีการถกเถียงกัน และฝา่ ยบริหารหัวหน้างานก็ไม่รบั ฟงั เหตุผลและไม่ได้
พวกเขาอยู่ภายใต้การควบคุม ของจาเลยในสถานที่ท่แี ออัด มีสภาพต่ า นาไปแก้ไขแต่อย่างใด และได้ทาเรื่องร้องเรียนไปที่ผบู้ ริหารระดับสูง ซึ่ง
กว่ามาตรฐาน ยิง่ ไปกว่านัน้ ข้อกล่าวหาดังกล่าวยังหาทางยึดเครื่องบินที่ อาจทาให้หวั หน้ างานบางคนไม่พอใจตนเองก็เป็ นได้ รวมถึงประเด็นที่ผู้
โอเรียน และพรรคพวกใช้ในการขนส่งแรงงานระหว่างเกาะในรัฐฮาวาย แจ้งความความเป้นรองประธานสหภาพฯ และเป็ นตัวแทนของสหภาพใน
ด้วย (ASTV ผูจ้ ดั การออนไลน์, 15-1-2554) การยื่ น ข้ อ เรี ย กร้ อ ง โดยหลั ง เกิ ด เหตุ ส หภาพฯ ได้ ข อให้ บ ริ ษ ัท ฯ
ดาเนินการสืบสวนข้อเท็จจริง แต่บริษทั ฯ ปฏิเสธที่จะดาเนินการใดๆ โดย
รมว.แรงงานไปพม่าหารือนาเข้าแรงงานถูกกฏหมาย
ระบุว่าให้เ ป็ นไปตามขัน้ ตอนกฎหมาย ทางสหภาพฯ จึงได้ทาหนังสือ
19 ม.ค. 54 - นายเฉลิม ชัย ศรีอ่อ น รัฐมนตรีว่าการกระทรวงแรงงงาน อย่างเป็ นทางการเพื่อ ขอให้บริษทั ฯ เร่งดาเนิ นการสอบสวนหาข้อเท็จ
เปิ ดเผยว่า ระหว่างวันที่ 22 - 24 มกราคม 2554 จะ เดินทางไปเยือ น เพื่อ ให้เ กิด ความเป็ น ธรรมแก่ พ นัก งาน สร้า งขวัญ และก าลัง ใจในการ
สาธารณรัฐ แห่ ง สหภาพพม่ า พร้อ มกับ นายสมเกี ย รติ ฉายะศรีว งศ์ ท างานของพนั ก งานทุ ก คนต่ อ ไป แถลงการณ์ ข องสหภาพแรงงาน
ปลัดกระทรวงแรงงาน และนายจีรศักดิ ์ สุคนธชาติ อธิบดีกรมการจัดหา ดังกล่าวระบุ (ประชาไท, 21-1-2554)
งาน เพื่อหารือแนวทางการพิสูจน์สญ ั ชาติแรงงานต่างด้าวสัญชาติพม่าที่
โฆษกปชป. เผย สมัย ประชุ ม นี้ ร ฐั เดิ น เครื่ อ งเร่ ง แก้ ไ ขกฎหมาย
ยังล่าช้า ที่เป็ นผลมาจากการปิ ดด่าน กับนายหม่อง หมิ่ น รัฐมนตรีช่วย
ประกันสังคม
ว่าการกระทรวงการการต่างประเทศพม่า นายเฉลิมชัย กล่าวต่อว่า จะ
ขอให้ทางการพม่า ส่งเจ้าหน้ าที่มาประจาด่านพิสูจน์ สญ ั ชาติในประเทศ ที่พรรคประชาธิปตั ย์ นพ.บุรณัชย์ สมุทรักษ์ โฆษกพรรคประชาธิปตั ย์
ไทย บริเวณอาเภอแม่สาย จังหวัดเชียงราย เช่นเดียวกับด่านในจังหวัด กล่าวถึงความคืบหน้าการขับเคลื่อนแนวทางการปฏิรูปประเทศ ว่า พรรค
ระนอง เพื่อ ให้ส ามารถพิสู จ น์ ส ัญ ชาติ ไ ด้ท ัน ตามก าหนดในวัน ที่ 28 ประชาธิ ป ัต ย์ ข องสนั บ สนุ นแนวทางของการหารื อ กั บ ประธาน
กุมภาพันธ์ 2555 รวมทัง้ จะขอให้ใช้ด่านอื่น เป็ นจุดพิสูจน์สญ ั ชาติ ตามที่ คณะกรรมการปฏิรูป ประเทศไทย และ คณะกรรมการกระบวนการ
รัฐ บาลไทยได้เ จรจาให้เ ปิ ด ด่ า นอื่น ทดแทน นอกจากนี้ จะหารือ ถึ ง ปรองดอง ต่อเนื่องในทุกสัปดาห์ ถือว่าเป็ นก้าวสาคัญในการที่จะนาความ
แนวทางโครงการนาร่องการนาเข้าแรงงานต่างด้าวสัญชาติพม่าอย่างถูก คืบ หน้ า ในการแก้ ไ ขป ญ ั หาของคณะกรรมการ อิส ระชุ ด ต่ า งๆนั น้ มา
กฎหมายจานวน 100,000 คนด้วย (โพสต์ทูเดย์, 19-1-2554) ประเมิณร่วมกับสถานการณ์ทางการเมือง และความมั ่นคงภายในประเทศ
เพื่อสร้างความมั ่นใจให้กบั ประชาชนในสังคมว่า รัฐบาลมุ่ งมั ่นที่จะแก้ไข
แกนนาสหภาพแรงงานถูกทาร้ายร่างกาย ช่วงเจรจาข้อตกลง
ปญั หาวิกฤติ ควบคู่กบั การดูแลความสงบเรียบร้อยและความปลอดภัย
21 ม.ค. 54 - สหภาพ แรงงาน เจเนอรัลมอเตอร์ส ประเทศไทย ได้ท า ของประชาชน ซึ่งความคืบหน้าของคณะกรรมการนัน้ ก้จะเป็ นเหตุผลสา
หนังสือ ถึง หัว หน้ า สานักงานสวัส ดิก ารและคุ้ม ครองแรงงาน (ในฐานะ คัย ที่จ ะน ามาประกอบในการ ตัด สิน ใจ ในการก าหนดระยะเสวลาที่
พนักงานประนอมข้อ พิพาทแรงงาน) และกรรมการผู้จดั การบริษทั เจน เหมาะสมในการคื น อ านาจกลั บ สู่ ป ระชาชนอี ก ครัง้ โฆษกพรรค
เนอรัล มอเตอร์ส เรื่อ งขอให้แ ก้ไ ขป ญ ั หาหัว หน้ า งานโดยมิช อบ ทัง้ นี้ ประชาธิปตั ย์ กล่าวว่าพรรคฯขอสนับสนุ นแนวทางในการที่จะใช้ประชุม
สหภาพแรงงานฯ ได้อา้ งถึงการยื่นข้อพิพาทยื่นข้อเรียกร้องของสหภาพฯ สภาสมัย นี้ เ ร่ง แก้ ไ ข กฎหมายประกัน สัง คมเพื่อ เปิ ด ช่ อ งทางให้ก ับ ผู้
ต่ อ บริษ ัท ฯ เมื่อ วัน ที่ 21 ธ.ค. 53 และมีก ารเจรจาตามขัน้ ตอนตาม ประกอบอาชีพอิสระ และอยู่ในภาคการจ้างงานนอกระบบสามารถที่จะมี
กฎหมายเรื่อยมาจนถึงปจั จุบนั แต่ทงั ้ สองฝ่ายยังไม่สามารถหาข้อตกลง หลักประกันความั ่นคงในชีวติ และเข้าสู่ระบบประกันสังคมได้ โดยปี น้ีรฐั
กันได้ โดยพนักงานประนอมข้อพิพาทแรงงานได้นัดให้มกี ารเจรจาไกล่ ตัง้ เป้าหมายบุคคลที่เข้ามาสู่ะบบตามมาตรา 40 อย่างน้อย 2.4 ล้าน คน
เกลี่ยอีกครัง้ ในวัน ที่ 27 ม.ค. 54 แต่ต่อ มาเมื่อ วันที่ 18 ม.ค. 54 ทาง และจะขับเคลื่อนผ่านเครือข่ายของอาสาสมัครแรงงานที่ดาเนินการโดย
คนทำงำน มกรำคม 2554 >> 21
กระทรวงแรง งานนัน้ ให้สามารถที่เชื่อมโยงกับผุป้ ระกอบอาชีพอิสระ ทัง้ เทียบกับปี 2552ซึ่งมีผลตอบแทนอยู่ท่ี 26,634 ล้านบาท ถือว่ามีสดั ส่วน
เกษตรกร ชาวนา ชาวไร่ ผูม้ กี จิ การ ผูบ้ ริการแท็กซี่ หาบเร่ แผงลอย มอร์ เพิม่ ขึ้นถึง 26.71% ขณะที่ผลตอบแทนเฉลี่ยทุกปี อยู่ท่ี 7.54% นายปนั ้
เตอร์ไซต์รบั จ้าง คนงานในบ้าน และคนงานก่อ สร้าง รวมถึงกลุ่มอาชีพ กล่าวว่าการลงทุนในปี 2554 จะใช้วงเงิน 1.5 แสนล้านบาท ประกอบด้วย
อื่นๆ ให้มหี ลักประกันความคุม้ ครอง ให้ได้รบั การชดเชยในกรณีเจ็บไข้ได้ เงินสดไหลเข้าจากเงินสมทบและรายรับจากการลงทุน 8 หมื่นล้านบาท
ป่วย เสียชีวติ ทุพพลภาพ ในการปฏิบตั ิงาน เพื่อสร้างความมั ่นคงและ ส่วนอีก7 หมื่น ล้านบาทมาจากเงินครบกาหนดจากการลงทุนในพันธบัตร
ขยายหลัก ประกัน สัง คมนี้ ใ ห้ค รอบคลุ ม คนไทยทุ ก กลุ่ ม และเป็ น การ และเงิ น ฝาก โดยขณะนี้ อ ยู่ ร ะหว่ า งของอนุ ม ัติ แ ผนการลงทุ น จาก
ยืนยันสิท ธิโดยการแก้ไขบทบัญ ญัติของกฎหมาย ไม่ใช่ประชานิ ยม ที่ คณะกรรมการสปส. โดยเน้นการลงทุนในพันธบัตรรัฐบาลและรัฐวิสาหกิจ
รัฐบาลชุดหนึ่งๆหยิบยื่น และถอนไปเมื่อไม่ได้เป็ นรัฐบาล เพราะหากการ ที่ ม ี ค วามมัน่ คงสู ง ไม่ ต่ า กว่ า 70% ส่ ว นอี ก 10% ลงทุ น ในหุ้ น ที่ มี
แก้ไขกฎหมายฉบับนี้สาเร็จลงก็จะมีผลผูกพันถึงรัฐบาลต่อไปในอนาคต ปจั จัยพื้นฐานดี ทัง้ นี้ ในส่วนของเงินกองทุนประกัน สังคมปจั จุบนั มีเงิน
ทุ ก รัฐ บาล จึง ของให้ส มาชิก ของรัฐ สภาที่จ ะมีส่ ว นร่ ว มในการแก้ ไ ข ทัง้ สิน้ 789,181ล้านบาท แบ่งเป็ นเงินกองทุนกรณีสงเคราะห์บุตรและชรา
กฎหมายได้ให้การสนับสนุ น การทางานของรัฐบาลในการแก้ไขมาตรา ภาพ 635,077 ล้ า นบาท ที่เ หลือ เป็ น เงิน กองทุ น กรณี เ จ็บ ป่ ว ย ตาย
40 กาหมายประกันสังคมในครัง้ นี้ (ฐานเศรษฐกิจ, 23-1-2554) ทุพพลภาพ คลอดบุตร 102,250 ล้านบาทและเงินกองทุนกรณีว่างงาน
51,854 ล้า นบาท นายป นกล่ ั ้ า วว่า ในส่ว นของการดูแ ล สิท ธิประโยชน์
แรงงานพม่ากว่ า 600 คนหยุดงานประท้ ว งขอขึ้นค่ าจ้ างและเพิ่ ม
ผูป้ ระกันตนนัน้ คาดว่าในเดือนก.ค.จะเริม่ เก็บเงินสมทบจากแรงงานนอก
สวัสดิ การ
ระบบได้ โดยขณะนี้ ประสานกับ กลุ่ม ตัว แทนหมู่บ้านเพื่อส ารวจความ
24 ม.ค. 54 - ตารวจของสภ.บ้านคา อ.บ้านคา จ.ราชบุรี ตชด.137 จา ต้องการของแรงงานนอก ระบบที่สนใจเข้าร่วมโครงการโดยตัง้ เป้าไว้ท่ี
กอ.สวนผึง้ ทหารหน่วยเฉพาะกิจทัพพระยาเสือ กองกาลังสุรสีห์ อ.สวน 2.4ล้านคน "ทีก่ งั วลคือเมื่อขนาดมันใหญ่ขน้ึ จาก50คนในปจั จุบนั เป็ น 2.4
ผึง้ และอส.จากอ.บ้านคา กว่า 200 นายเข้าดูแลรักษาความสงบเรียบร้อย ล้าน คน เราต้องทางานเชิงรุกมากขึ้น มีการประสานตัวแทนหมู่บ้านให้
หลังจากแรงงานต่างด้าวชาวพม่ากว่า 600 คนหยุดงานประท้วงโรงงานวี ช่วยเก็บเงินมาส่งที่สานักงานในระดับอาเภอและ ประสานกับหน่ วยงาน
แอนด์เค สัปปะรดกระป๋อง จากัด ตัง้ อยู่ หมู่ 7 ต.หนองพันจันทร์ อ.บ้าน เช่น ไปรษณีย์ ธนาคารออมสินและธกส.ให้เป็ นช่องทางชาระเงินอีกทาง
คา โดยยื่นข้อเรียกร้องทัง้ หมด 4 ข้อคือ ขอเพิม่ ค่าแรงจากเดิมที่ได้วนั ละ หนึ่ งด้วย"นายปนกล่ ั ้ าว ทัง้ นี้ ข้อ เรียกร้อ งจากหลายฝ่ายที่ ให้โอนสิท ธิ
174 บาท เป็ นวันละ 180 บาท ขอห้อ งน้ าเพิ่มเพราะห้องน้ าที่มอี ยู่นัน้ ประโยชน์ ด้านการรักษาพยาบาลของผู้ประกันตนในระบบกว่า 9.7ล้าน
น้อยเกินไปไม่เพียงพอกับแรงงาน ต่างด้าวที่มอี ยู่ ขอสวัสดิการต่างๆที่ คนไปให้ส ปสช.เป็ น ผู้รบั ผิด ชอบแทนนัน้ นายป นกล่ ั ้ าวว่า บริก ารของ
คนไทยได้รบั และ ขอไม่ให้ทางโรงงานเข้ามายุ่งในกรณีท่มี กี ารทะเลาะ ประกันสังคมไม่ได้มแี ค่เรื่องการรักษาพยาบาลเพียง อย่างเดียวแต่ยงั มี
วิว าทกัน เองในหมู่ ข อง แรงงานต่ า งด้ า ว อย่ า งไรก็ต ามข้อ เรีย กร้อ ง สิทธิประโยชน์อกี หลายกรณี บางอย่างที่สปส.มีแต่สปสช.ก็ไม่มี เช่นการ
ดังกล่าวจะต้องให้ทางเจ้าของโรงงานกลับมาจากต่าง ประเทศเสียก่อ น รักษาพยาบาลในโรงพยาบาลเอกชน ยอมรับว่าบางเรื่อ งอาจทาได้ช้า
ด้านนายธีระเดช โปสะพันธ์ ปลัดอาเภอบ้านคา กล่าวว่า ขณะนี้ได้รบั กว่าสปสช.แต่ในระยะยาวแล้วสปส.ต้องปรับสิทธิ ประโยชน์ให้เทียบเท่า
ข้อเรียกร้องมาและประสานให้กบั ทางกรมสัวสดิการและคุม้ ครองแรง งาน หรือมากกว่าสปสช.อยูแ่ ล้ว (โพสต์ทูเดย์, 24-1-2554)
เข้ามาดูแล เพื่อ ไม่ให้เกิดเหตุบานปลายพร้อมกับประสานให้กบั โรงงาน
นาร่อง 7 จังหวัด ส่งนร.อาชีวะฝึ กฝี มือในโรงงาน
ได้นาข้อเรียกร้องไป เสนอต่อทางผูบ้ ริหารของโรงงานเพื่อจะได้ขอ้ สรุปว่า
จะสามารถดาเนินการตามข้อ เรียกร้องได้หรือไม่ เนื่องจากถ้าปล่อยไว้ก็ 24 ม.ค. 54 - นายนคร ศิลปะอาชา อธิบดีกรมพัฒนาฝี มอื แรงงาน กล่าว
จะยิ่งท าให้ปญั หานัน้ บานปลาย เพราะแรงงานสาคัญ ของโรงงานส่วน ว่ า กรมพัฒ นาฝี ม ื อ แรงงานได้ ล งนามบัน ทึ ก ความเข้ า ใจ (MOU)
ใหญ่นนั ้ เป็ นแรงงานต่างด้าว ส่วนคนไทยนัน้ มีเพียงแค่ 200 กว่า คน ทา ระยะเวลา 5 ปี ระหว่าง 6 หน่ วย งาน ประกอบด้ว ย กรมพัฒ นาฝี มือ
ให้ไม่สามารถผลิตสัปปะรดกระป๋องส่งออกขายได้ (โพสต์ทูเดย์, 24-1- แรงงาน สภาอุ ตสาหกรรมแห่งประเทศไทย สานักงานคณะกรรมการ
2554) อาชีวะศึกษา สถาบันโรงเรียนอาชีวะศึกษาเอกชน สถาบันไทย-เยอรมัน
และสมาคมส่งเสริม เทคโนโลยีไทย-ญี่ปุ่น ในการพัฒนานักเรียนอาชีวะ
สปส.กาไรพุ่ง 3.3 หมื่นล้าน
ศึกษาให้มที กั ษะฝีมอื อาชีพตรงตามความต้องการของ ตลาดแรงงานโดย
24 ม.ค. 54 - นายปนั ้ วรรณพินิจ เลขาธิการสานักงานประกันสังคม รู ป แบบการพัฒ นาจะใช้ วิ ธี ส่ ง นั ก ศึ ก ษาเข้ า ไปฝึ กงานในสถาน
(สปส.) เปิ ด เผยว่า สปส.มีผ ลตอบแทนการลงทุ น ปี 2553 เป็ น จ านวน ประกอบการระหว่างเรียนเพื่อให้ได้เรียนรูท้ กั ษะจาก การทางานจริงและ
33,750 ล้านบาท ประกอบด้วยดอกเบี้ยรับจากเงินฝาก พันธบัตรและหุน้ สามารถนาชั ่วโมงฝึ กงานมารวมเป็ นชั ่วโมงการเรียนการสอนได้ รวมทัง้
กู้ 25,772ล้านบาท เงินปนั ผลและกาไรจากหลักทรัพย์ 8,028 ล้านบาท สามารถให้สถาบันอาชีวะส่งนักศึกษามาฝึ กที่ศูนย์พฒ ั นาฝี มอื แรงงานได้
22 << คนทำงำน มกรำคม 2554
อีกด้วย ทัง้ นี้รายละเอียดการฝึ กงานทัง้ หมด ยังคงต้องหารือกันอีกครัง้ 26 ม.ค. 54 - ที่ บริเวณศาลากลางจังหวัดพิจติ รได้มกี ลุ่ม ผูใ้ ช้แรงงาน
ซึ่ ง ทุ ก หน่ ว ยงานจะท างานในลัก ษณะบู ร ณาการร่ ว มกัน โดยมีส ภา พนักงาน ชาวบ้าน รวมถึงครอบครัวของพนักงานบริษทั ในเครือเหมืองแร่
อุตสาหกรรมเป็ นผู้ ประสานงาน ในเบื้อ งต้นจะนาร่อ งฝึ กงานในสถาน ทองคาอัคราไมนิ่ง จากัด ซึ่งตัง้ อยู่ท่ี ต.เขาเจ็ดลูก อ.ทับคล้อ จ.พิจิตร
ประกอบการขนาดเล็กและขนาดกลางใน 7 จังหวัด ประกอบด้วย ราชบุรี ประมาณ 1,200 คน นาโดยนายสาธิต นาคสุก อายุ 42 ปี รองประธาน
กาญจนบุ รี นครปฐม สมุ ท รสาคร สมุ ท รสงคราม ประจวบคีรีข ัน ธ์ คณะกรรมการสวัสดิการแรงงานพนักงานบริษทั เหมืองแร่ทองคาอัคราไม
เพชรบุรี เนื่องจากเป็ นจังหวัดที่ประสบปญั หาขาดแคลนแรงงานในระดับ นิ่ง ได้มาชุมนุ มยื่นหนังสือขอความเห็นใจให้เหมืองแร่ทองคาชาตรีเหนือ
อาชีวะศึกษาและนัก เรียนที่จบออกมายังขาดทักษะฝี มอื อาชีพ (โพสต์ทู หรือเหมืองแร่ทองคาอัคราไมนิ่ ง ที่ก่อ นหน้ านี้ได้ถูกฟ้องร้อ งว่ามีการ
เดย์, 24-1-2554) ดาเนิ นกิจการส่งผล กระทบต่อ สุขภาพและสิ่งแวดล้อ ม จนอธิบดีกรม
อุตสาหกรรมพื้นฐานและการเหมืองแร่ ได้มหี นังสือแจ้งให้บริษทั ฯ หยุด
สหภาพรถไฟยื่นหนังสือทวงถามค่าทางานล่วงเวลา
ท าเหมือ งแร่ท องคาเฟส 2 ในภาคกลางคืนตัง้ แต่ เวลา 19.00 น.จนถึง
เมื่อ วัน ที่ 25 ม.ค. ผู้ส่ือ ข่ า วรายงานว่า ที่ก ารรถไฟแห่ง ประเทศไทย 05.00 น. กลุ่มพนักงานระบุว่า คาสั ่งดังกล่าวส่งผลให้พนักงานนับพันคน
(รฟท.) นายสาวิทย์ แก้วหวาน ประธานสหภาพแรงงานรัฐวิสาหกิจการ ที่ทางานในภาคกลางคืนมาเกือบ 10 ปี มีภาระทางครอบครัว การดารง
รถไฟแห่งประเทศไทย (สร.รฟท.) เปิ ดเผยว่า ได้ย่นื หนังสือให้ผู้บริหาร ชีพ ต้ อ งตกงานและเดือ ดร้อ น เนื่ อ งจากค าสั ่งหยุ ด การด าเนิ น กิจ การ
การรถไฟฯ เพื่อติดตามเรื่องการจ่ายค่าตอบแทนการทางานเกินกว่าเวลา ดังกล่าว จึงได้รวมตัวกันมาร้องทุ กข์ขอความช่วยเหลือ พร้อมกับให้
ปกติ ตามกฎหมายที่เกี่ยวข้องกับมาตรฐานสภาพการจ้างในรัฐวิสาหกิจ เหตุผลว่า นอกจากนี้ ส่งผลถึงเศรษฐกิจชุม ชนและการจัดเก็บภาษีของ
ซึ่งพนักงานไม่มสี ทิ ธิ ์เบิกเงิน แต่สามารถเบิกเงินตามค่าจ้างรายชั ่วโมงที่ ท้องถิน่ ทีป่ ี หนึ่งๆ อัคราไมนิ่ง จ่ายเงินพัฒนาสิง่ แวดล้อมตาบลถึงปี ละ 10
ทางาน โดยการรถไฟฯ ไม่ได้จ่ายตัง้ แต่ปี 2549 รวมเป็ นเงินกว่า 1,700 ล้า นบาท และจ้า งงานปี ล ะไม่น้ อ ยกว่า 150 ล้า นบาท รวมถึง เงิน ตรา
ล้านบาท และได้มกี ารทวงถามหลายครัง้ ปรากฏว่ายังไม่มคี วามคืบหน้ า ต่างประเทศจาการส่งออกแร่ทองคา ที่เคยมีรายได้กว่าปี ละ 3 พัน ล้าน
ใดๆ อย่างไรก็ตาม ในครัง้ นี้ ฝ่ายบริหารรับปากว่า จะนาเข้าสู่ท่ีประชุม บาท จึงได้รวมตัวกันมาเรียกร้องและชี้แจงให้ผู้ว่าฯพิจิตร ได้พิจารณา
คณะกรรมการ รฟท.ในวันที่ 26 ม.ค.นี้ เพื่อให้บอร์ดที่มนี ายสุพจน์ ทรัพย์ ทบทวนเพื่อรายงานและอนุ เคราะห์ให้ช่วยสั ่งให้เปิ ดดาเนินกิจการต่อ ไป
ล้อ ม ปลัดกระทรวงคมนาคม ในฐานประธานบอร์ดรฟท.พิจารณาด้วย ขณะทีน่ ายสุวทิ ย์ วัชโรทยางกูร ผูว้ ่าราชการจังหวัดพิจติ ร ซึ่งอาศัยอยู่ใน
(ไทยรัฐ, 25-1-2554) พืน้ ที่ใกล้เคียง กล่าวว่า ตนเองก็กนิ อยู่พกั อาศัยในชุมชนรอบเหมืองด้วย
เช่นกันเหมือ นกับผู้ร้อ งเรียน แต่ไม่เคยได้รบั ผลกระทบในทุกประเด็น
แรงงานพม่าเลิ กสไตร์ค หลังเจรจาเจ้าของโรงงานได้ข้อยุติ อย่างทีม่ กี ลุ่ม NGO ร้องเรียนและฟ้องศาลปกครองแต่อย่างใด จึงเชื่อมั ่น
ความคื บ หน้ า กรณี ค นงานชาวพม่ า กว่ า 600 คน ซึ่ ง ท างานให้ ก ั บ ว่าการฟ้องร้องและการร้องเรียนจนเป็ นที่มาของคาสั ่งปิ ดเหมือ งเฟส 2
โรงงานผลิตสับปะรดกระป๋อง วี แอนด์ เค จังหวัดราชบุรี นัดหยุดงานเพื่อ ช่วงกลางคืน มีกลุ่ม นายทุ น ผู้ค้า ที่ดิน รอบเหมือ งบีบเสนอขายที่ดินใน
ขอให้น ายจ้า งขึ้น ค่ า แรง จ่ า ยค่ า ชดเชยกรณี เ จ็บ ป่ ว ยจากการท างาน ราคาแพง แต่บริษทั ฯ ไม่รบั ซื้อ จนทาให้เกิดปญั หานี้ข้นึ ล่าสุด นายสุ
ปรับ ปรุง การเข้า ถึง การรัก ษาพยาบาล สร้า งห้อ งน้ า เพิ่ม เนื่ อ งจากไม่ วิท ย์ได้เรียกประชุ ม ด่วนคณะกรรมการระดับจัง หวั ด ซึ่ง ประกอบด้ว ย
เพีย งพอกับ จานวนแรงงาน แจกแจงรายละเอียดเงิน เดือ นที่ถูกหักไป ไตรภาคี 21 คน อัน ได้แ ก่ ผู้ท รงคุ ณ วุฒ ิใ นภาคราชการ ตัว แทนของ
ก่อนที่พวกเขาจะได้รบั และยุตกิ ารเลือกปฏิบตั ริ ะหว่างแรง งานไทยและ เหมือ งแร่ท องค าอัค ราไมนิ่ ง และตัว แทนของประชาชนที่ไ ด้ร บั ความ
พม่ า เมื่อ วัน ที่ 24 ม.ค.ที่ผ่ า นมา โดยระหว่ า งการชุ ม นุ ม ประท้ ว ง มี เดือ ดร้อ น และอยู่อ าศัยโดยรอบพื้นที่เหมือ งแร่ท องคาอัคราไมนิ่ ง ซึ่ง
เจ้าหน้าทีท่ หารและตารวจกว่า 200 นายเข้ามาดูแลสถานการณ์ นายสุทธิ คณะกรรมการชุดนี้กจ็ ะทาหน้าทีต่ รวจสอบข้อเท็จจริงในรายละเอียด ผูว้ ่า
พงศ์ คงพาผล ผูป้ ระสานงานด้านสิทธิแรงงาน มูลนิธเิ พื่อสุขภาพและการ ฯ พิจติ ร ให้คามั ่นว่า ทุกฝา่ ยล้วนเป็ นประชาชนคนพิจติ ร ดังนัน้ จึงต้องให้
เรียนรู้ ของแรงงานกลุ่มชาติพนั ธุ์ (MAP) ให้สมั ภาษณ์วา่ การเจรจาได้ขอ้ การดูแลอย่างสมดุลไม่เ ข้า ข้างใคร และจะได้ท าความเห็น เสนอไปยัง
ยุตแิ ล้ว ตัง้ แต่เมื่อเย็นวันที่ 24 ม.ค. โดยนายจ้างตกลงตามที่คนงานพม่า อธิบดีกรมอุตสาหกรรมพื้นฐานและการเหมือ งแร่ เพื่อ พิจารณาสั ่งการ
เรียกร้อง และล่าสุด (25 ม.ค.) คนงานได้กลับเข้าท างานตามปกติแล้ว ต่อไป (ASTV ผูจ้ ดั การออนไลน์, 26-1-2554)
(ประชาไท, 26-1-2554) คนงานแม็กซิ สเตรียมรุกเข้ากรุงยื่นนายกแก้ปัญหา
คนงานเหมืองทองอัครายกทีมบุกศาลากลาง จี้ทวนคาสั ่งปิ ดเหมือง 27 ม.ค. 54 - คน งานแม็คซิสแพ็คกะเป๋านัดกันเตรียมเคลื่อนพลหวังให้ผู้
เฟส 2 มีอานาจทางการเมือง สั ่งการให้นายจ้างรับลูกจ้างกลับเข้าไปทางาน และ
เข้าสู่แรงงานสัมพันธ์ท่ดี ตี ามนโยบายของรัฐ ด้วยความรูส้ กึ ไม่อยากที่จะ
คนทำงำน มกรำคม 2554 >> 23
ทุบหม้อข้าวตัวเอง แต่ต้องการการจ้างงานที่มคี วามเป็ นธรรม เกิดสิทธิ ประสานลิ เบียช่วยแรงงานไทย
อันชอบธรรมของลูกจ้างนัน้ แต่นายจ้างไม่ตอ้ งจ่ายต้นทุนเพิม่ นายจ้างยัง
กรมการจัด หางาน-นายจีร ศัก ดิ ์ สุค นธชาติ อธิบ ดีก รมการจัด หางาน
หวังการจ้างงานแรงงานราคาถูก นาแรงงานข้ามชาติทางานแทน หนึ่งใน
เปิ ดเผยว่า กรมการจัดหางานได้รบั การร้องทุกข์จาก น.ส.ประทุม ภูเดช
แรงงานข้ามชาติคนจีนที่เข้าร่วมเรียกร้องกับสหภาพแรงงาน อายุ 36 ปี
กับพวกรวม 19 คน กรณีสามีและเพื่อนคนงานไทย จานวน 130 คน ไป
กล่ า วว่ า ปู่ ย่ า ตายายเป็ นคนจี น อพยพเข้ า มาอยู่ ใ นเมือ งไทยตอน
ทางานในประเทศลิเบีย โดยการจัดส่งของบริษทั จัดหางานแมนโปร เอ็นจิ
สงครามโลกครัง้ ที่ 2 อาศัยอยู่ท่จี งั หวัดเชียงราย ตนเองเข้ามาทางานที่
เนียริง่ แอนด์ คอนสตรัคชั ่น จากัด และบริษทั จัดหางาน พี.พี.พี ก่อสร้าง
บริษทั ฯแม็กซิสได้ 5 ปี แล้ว อยู่แผนก เปลี่ยนพิมพ์ (อัดดอกยาง) รู้สึก
(ไทยแลนด์) จากัด มีกลุ่มชายฉกรรจ์ชาวลิเบีย 100 คน ใช้อาวุธปื นบุก
แค้น ท างานมานานแล้ว ขออะไรไปก็ไม่ได้ ถ้าเราไม่สู้เ ป็ น ไปไม่ได้ท่ี
ปล้นทรัพย์ภ ายในแคมป์ท่พี กั คนงานไทย บังกลาเทศ และเกาหลี ซึ่งมี
นายจ้างจะให้เรามาง่ายๆก็ต้ อ งสู้ ตอนนี้ คงต้องท าทุ กอย่างเพราะไม่ม ี
คนงานพักอาศัยอยู่รวมกันประมาณ 500 คน ขู่ทาร้ายและไล่คนงานออก
อะไรจะเสียแล้ว นอกจากนี้คนงานให้สมั ภาษณ์กบั นักสื่อสารแรงงานต่อ
จากแคมป์ ยึดเครื่อ งมือ หนักชนิ ดต่ างๆ เผาท าลายสานักงาน คนงาน
กรณีการทางานของเจ้า หน้ าที่ว่า ไม่ เคยเชื่อใจเจ้าหน้ าที่ มีอะไรหลาย
หลบหนีไปพักอาศัยอยู่ในโรงอาหารภายในแคมป์คนงาน อยู่ห่างออกไป
อย่างที่เจ้าหน้าที่ทามีเงื่อนงา เหมื่อนเข้าข้างนายจ้าง ถึงแม้ว่าผมจะเป็ น
กว่า 3 กิโลเมตร ล่าสุดทางการลิเบียประกาศเคอร์ฟิว ห้ามเข้า -ออก ใน
คนจีน ผมก็จะสู้จนถึง ที่สุด ขอให้ค นงานไทยที่เ ข้าไปท างานอยู่ตอนนี้
บริเวณทีม่ กี ลุ่มชายฉกรรจ์บุกรุกเผาทาลายกรมการจัดหางานประสานกับ
ออกมาเรียกร้องสิทธิของตัวเองด้วยกัน นายสราวุธ เมียดประโคน อายุ
สานักงาน ใหญ่ของบริษทั WON Construction Co.,Ltd ที่ประเทศ
30 ปี ไม่มคี รอบครัว กล่าวว่า เป็ นห่วงการทางาน ไม่รจู้ ะเข้าทางานตอน
เกาหลี และสานักงานสาขาที่เมือง Benghazi ขอ ให้ทางการลิเบียส่ง
ไหน เจ้าหน้ าที่ของรัฐทางานช้ามาก รับเรื่อ งไปแล้วก็ได้แต่รบั ไปไม่ท า
เจ้าหน้ าที่ท หารและตารวจไปคุ้ม ครองคนงาน ตลอดจนเพิ่ม อาหารใน
อะไร เรื่อ งที่ ร บั ไปไม่ม ีค วามคืบ หน้ า ผมอยากให้เ จ้า หน้ าที่ข องรัฐ ท า
แคมป์ทม่ี คี นงานหลบหนีภยั เข้าไปพักอาศัย กรมการจัดหางานจะติดตาม
หน้าที่ของตน รู้จกั หน้ าที่ของตนเองว่า ต้องรับใช้ประชาชน คนงานหวัง
สถานการณ์ โดยประสานกับบริษทั จัดหางานผู้จดั ส่งคนงาน ไปทางาน
ว่า การเคลื่อนไหวครัง้ นี้เจ้าหน้ าที่ของรัฐคงต้องสร้างความกระจ่างและ
อย่างใกล้ชดิ จนกว่าสถานการณ์จะยุติ ซึ่งคาดว่าน่ าจะใช้เวลาประมาณ 1
ช่วยเหลือ แรงงานได้มากกว่าที่เป็ นอยู่ในตอนนี้ (นักสื่อสารแรงงาน, 28-
สัปดาห์ (ข่าวสด, 28-1-2554)
1-2554)

วารสารออนไลน์คนทางานมีวัตถุประสงค์เพื่อเป็นสื่อกลางในการสื่อสารด้านแรงงาน ไม่สงวนลิขสิทธิ์ในการ
เผยแพร่-ทาซ้า รับข่าวสาร-ข้อมูลด้านแรงงานทางอินเตอร์เน็ตได้ที่ :
www.prachatai3.info (เว็บไซต์ข่าวทางเลือกประชาไท)
www.voicelabour.org (นักสื่อสารแรงงาน โครงการการพัฒนาสือ่ สนับสนุนการขับเคลือ่ นขบวนการแรงงาน โดยการสนับสนุน
ของ แผนงานพัฒนาคุณภาพชีวิตแรงงาน สานักงานกองทุนสนับสนุนการสร้างเสริมสุขภาพ (สสส.))

www.thailabour.org (โครงการรณรงค์เพื่อแรงงานไทย)
- www.facebook.com/thailabour
- www.twitter.com/thailabour
24 << คนทำงำน มกรำคม 2554 เรียบเรียง/รูปเล่ม: วิทยากร บุญเรือง (workazine@gmail.com)

You might also like