You are on page 1of 17

การศึกษาองค์ ประกอบของโครงสร้ างต้ นทุนราคายาในประเทศไทย1

A Study of the Cost Structure Elements of Drug Prices in Thailand

ผศ. พัชริ นทร์ ไตรรั ตน์ ร่ ุงเรือง


คณะบัญชี มหาวิทยาลัยกรุ งเทพ
พันตรี ดร. วีระวุฒิ วัจนะพุกกะ
สถาบันส่ งเสริ มการวิจยั และพัฒนานวัตกรรม มหาวิทยาลัยกรุ งเทพ

บทคัดย่ อ
ยา (drug, medicine) เป็ นหนึ่งในปัจจัย 4 ที่มีความสาคัญต่อการดารงชีวติ ในปั จจุบนั การเสี ยชีวิตจากโรคภัยไข้เจ็บ
มีแนวโน้มสู งขึ้นทุก ๆ ปี แต่ในทางตรงข้ามการเสี ยชีวิตจากอุบตั ิเหตุกลับลดลง สาเหตุที่คนไทยเสี ยชีวิตด้วยโรคที่เกิดจาก
ความเจ็บป่ วยสู งขึ้นนั้นอาจเกิดจากปั ญหาที่ประชาชนไม่สามารถเข้าถึงยาได้ เนื่องจาก ยารักษาโรคมีราคาแพงขึ้น ถึงแม้วา่
รัฐบาลจะออกมาตรการในการดูแลสุ ขภาพของประชาชน ตั้งแต่ โครงการ 30 บาท รักษาทุกโรค จนถึงหลักประกันสุ ขภาพ
ถ้วนหน้าแล้วก็ตาม ปั ญหาการเข้าถึงยาของประชาชนชาวไทยยังคงเป็ นปั ญหาที่ ตอ้ งติ ดตามและหาทางแก้ไขอย่างเป็ น
รู ปธรรมและเป็ นระบบ จากแนวความคิดนี้ จึงได้มีการจัดตั้งสมัชชาสุ ขภาพแห่ งชาติข้ ึน เพื่อรับฟังความคิดเห็นของทุกภาค
ส่ วนที่เกี่ยวข้อง สาระสาคัญของแผนปฏิบตั ิการฯ ที่ได้ผา่ นความเห็นชอบจากสมัชชาฯ ประกอบด้วย ยุทธศาสตร์ สนับสนุน
กลุ่มผูป้ ่ วยให้สามารถเข้าถึงยา และส่ งเสริ มให้มีส่วนร่ วมในการดูแลสร้างเสริ มสุ ขภาพ ช่วยให้ผปู ้ ่ วยมียาที่จาเป็ นต้องใช้เมื่อ
ยามเจ็บป่ วย ทั้งยาแผนปั จจุบนั ยาแผนไทย และยาสมุนไพร โดยอาศัยกลไกการทางานปกติจากคณะกรรมการชุดต่าง ๆ ที่
คณะกรรมการอาหารและยา (อย.) ดูแลอยู่ การกาหนดราคากลางของยาเป็ นหนึ่งในวิธีการแก้ปัญหายาราคาแพง ซึ่ งวิธีน้ ี ได้
มีการดาเนิ นการมาเป็ นระยะเวลานาน แต่ก็ไม่สามารถแก้ปัญหาได้อย่างมีประสิ ทธิ ภาพ เป็ นเหตุให้ประชาชนไม่สามารถ
เข้าถึงยาได้ถว้ นหน้า อย่างเท่าเทียมกัน จากปั ญหาดังกล่าว สานักงานเลขาธิ การ สภาติบญั ญัติแห่ งชาติ มีหนังสื อลงวันที่ 18
ตุลาคม 2550 เกี่ ยวกับการแก้ไขเพิ่มเติ มพระราชบัญญัติยา พ.ศ. 2510 โดยมี การกาหนดประเด็นการเปิ ดเผยข้อมูลของ
โครงสร้างราคายา ซึ่ งประกอบด้วยต้นทุนของตัวยาสาคัญ (active ingredients) ดังนั้นเพื่อให้สอดคล้องกับการเปลี่ยนแปลง
ในพระราชบัญญัติยา และเพื่อให้ทราบถึงโครงสร้างราคายาตามใบสั่งแพทย์ที่ถูกใช้บ่อยในปั จจุบนั ซึ่ งจะเป็ นแนวทางใน
การเปรี ยบเทียบกับโครงสร้างราคายาที่จะขอขึ้นทะเบียนใหม่ และสามารถใช้เป็ นแนวทางในการหาวิธี ที่เหมาะสมในการ
กาหนดราคายาที่จาหน่ายอยูใ่ นท้องตลาด ผูว้ ิจยั จึงสนใจที่จะทาการศึกษาองค์ประกอบของโครงสร้างต้นทุนราคายา และ
ศึกษาถึงข้อจากัดต่างๆที่ทาให้วิธีการกาหนดราคายากลางไม่สามารถแก้ปัญหาการเข้าถึงยาได้อย่างมีประสิ ทธิ ภาพ

คาสาคัญ: ราคายา, โครงสร้างต้นทุนราคา, วิธีการกาหนดราคา

1
ได้รบั ทุนสนับสนุ นจากแผนงานสร้างกลไกเฝ้าระวังและพัฒนาระบบยา (กพย.) สานักงานกองทุนสนับสนุนการสร้าง
เสริมสุขภาพ (สสส.)
Abstract
Drug (medicine) is one of four elements that are important for life. Nowadays, deaths from diseases have been increasing
every year while deaths from accidents have been decreasing. The cause of death from diseases probably because Thais
could not affords the expensive drug. Although, health-supporting schemes, such as 30 Baht health-care program and
universal health insurance policy, are provided by Thai government. It doesn’t seem that the accessible to medicine of
Thais can be solved. This idea leads to the establishment of the National Health Assembly (NHA), which has an objective
to gather the opinions of all stakeholders concerned. The essence of the action plan, which has been already approved by
the National Health Assembly, is to support patients to access drugs at reasonable prices. Thus, all patients who need drug
treatments should be able to access to medicine, traditional Thai medicine and/or herbal medicine through the normal
mechanism set up by the Food and Drug Administration (FDA). Again, it is found that the normal mechanism, which has
been operated for a long time, still cannot help Thai patients to assess the necessary drugs. Therefore, the National
Assembly Committee issued a letter dated October 18, 2550 regarding amendments of the Drug Act BE 2510, with the
topic of disclosure of drug pricing structure. In order to comply with changes in drug act and to understand the structure of
drug prices, researchers are interested to study the structural components of the costs of drugs and limitations of current
drug system that cause standard drug pricing policy cannot be performed effectively.

Keywords: Drug prices, Cost structures, Pricing methods.

ความเป็ นมาและความสาคัญของปัญหา
ยา (drug, medicine) เป็ นหนึ่ งในปั จจัย 4 ที่มีความสาคัญต่อการดารงชีวิตของมนุ ษย์ โดยปกติการใช้ยาจะมี 2
ลักษณะคือ การใช้ในการบาบัดอาการของโรค และ การใช้เพื่อป้ องกันไม่ให้เกิดโรคขึ้น ซึ่ งโดยปกติแล้วหากอาการของโรค
รุ นแรง ราคายาที่ใช้ก็จะมีราคาแพงตามความรุ นแรงและความจาเป็ น เช่นโรคเอดส์ โรคมะเร็ ง และโรคทางด้านสมอง จาก
ข้อมูลทางด้านสถิติ การเสี ยชีวิตของประชากรจากโรคมะเร็ งและเนื้ องอกทุกชนิ ดสู งสุ ดถึงร้อยละ 81.4 ในปี 2548 และอัตรา
ดังกล่าวมีแนวโน้มเพิ่มขึ้นทุก ๆ ปี ตั้งแต่ปี 2549 ถึง ปี 2552 ในอัตราร้อยละ 83.1 ร้อยละ 84.9 ร้อยละ 87.6 และร้อยละ 88.3
ตามลาดับ (รวบรวมและวิเคราะห์โดย : กลุ่มภารกิจด้านข้อมูลข่าวสารและสารสนเทศสุ ขภาพ สานักนโยบายและยุทธศาสตร์
สานักงานปลัดกระทรวงสาธารณสุ ข กระทรวงสาธารณสุ ข ) ส่ วนการเสี ยชีวิตเนื่ องจากสาเหตุโรคอื่นก็มีแนวโน้มสู งขึ้นด้วย
เช่นกัน ในทางตรงข้าม การเสี ยชีวิตจากสาเหตุทางอุบตั ิเหตุกลับลดลง สาเหตุหนึ่งที่ทาให้คนไทยเสี ยชีวิตด้วยความเจ็บป่ วย
สู งขึ้นนั้น อาจเกิดจากการไม่สามารถเข้าถึงยาได้ทนั เวลาเนื่องจากยาที่จาเป็ นต้องใช้มีราคาแพง ถึงแม้วา่ รัฐบาลหลายรัฐบาล
พยายามที่จะแก้ปัญหาดังกล่าว โดยการออกมาตรการต่างๆในการดูแลสุ ขภาพของประชาชน ตั้งแต่ โครงการ 30 บาท รักษา
ทุกโรค จนถึงโครงการหลักประกันสุ ขภาพถ้วนหน้าแล้วก็ตาม
ปั ญหาการเข้าถึงยาของประชาชนชาวไทย ยังคงเป็ นปั ญหาที่ ตอ้ งติ ดตามและหาทางแก้ไขให้เป็ นรู ปธรรมอย่าง
เร่ งด่วน จากแนวความคิดนี้ พฒั นาขึ้นมาจนกระทัง่ มีการจัดตั้งสมัชชาสุ ขภาพแห่ งชาติข้ ึน เพื่อรับฟังความคิดเห็นของทุกภาค
ส่ วนที่เกี่ยวข้อง โดยมีคณะอนุกรรมการซึ่ งเป็ นที่ยอมรับของทุกฝ่ ายเป็ นผูด้ าเนิ นการเพื่อให้ได้มาซึ่ งแผนปฏิบตั ิการฯ และ
เพื่อให้แผนนี้ เป็ นไปอย่างเป็ นรู ปธรรมและต่อเนื่ อง สานักงานคณะกรรมการอาหารและยา (อย.) แผนงานคุม้ ครองผูบ้ ริ โภค
ด้านสุ ขภาพ (คคส.) จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย และสานักงานคณะกรรมการสุ ขภาพแห่ งชาติ (สช.) ได้จดั แถลงข่าว “จับหั วใจ
6 แผนปฏิบัติการเคลื่อนยุทธศาสตร์ เข้ าถึงยาถ้ วนหน้ า” หลังจากเปิ ดเวทีรับฟังความเห็นเกี่ยวกับแผนปฏิบตั ิการจากหน่วยงาน
ภาครั ฐและเอกชน นักวิชาการ โดยมี วตั ถุประสงค์เพื่อให้ประเทศไทยมี ยาที่ จาเป็ นใช้อย่างทัว่ ถึ งทันการณ์ และสามารถ
Page |3

พึ่งตนเองได้ รวมถึงส่ งเสริ มการใช้ภูมิปัญญาท้องถิ่นด้านสุ ขภาพ การแพทย์แผนไทย การแพทย์พ้ืนบ้าน และการแพทย์


ทางเลือกด้วย
สาระสาคัญของแผนปฏิบตั ิการฯ ประกอบด้วย ยุทธศาสตร์ สนับสนุ นกลุ่มผูป้ ่ วยให้เข้าถึงยาและมีส่วนร่ วมดูแล
สร้างเสริ มสุ ขภาพ ช่วยให้ผปู ้ ่ วยมียาที่จาเป็ นต้องใช้เมื่อเจ็บป่ วย ไม่ว่าจะเป็ นยาแผนปั จจุบนั ยาแผนไทย และยาสมุนไพร
โดยอาศัยกลไกการทางานปกติจากคณะกรรมการชุดต่าง ๆ ที่ คณะกรรมการอาหารและยา (อย.) ดูแลอยู่ เช่น คณะกรรมการ
พัฒนาบัญชียาหลักแห่ งชาติที่มีการทางานอย่างต่อเนื่ อง มีหน้าที่ตรวจสอบยาใหม่ที่นาเข้ามาใช้ในประเทศไทย และถอดยาที่
ล้าหลังออก ซึ่ งถือเป็ นกระบวนการที่สามารถทางานได้ เนื่ องจากมีระเบียบสานักนายกฯ ออกมารองรับการทางาน ส่ วน
ยุทธศาสตร์ การดูแลราคายาในประเทศให้สอดคล้องกับค่าครองชีพของประชาชนนั้น จากแผนปฏิบตั ิการฯดังกล่าวแสดงให้
เห็นว่า มียาเพียงบางรายการเท่านั้นที่สามารถทาได้ โดยทางคณะกรรมการฯจะดาเนิ นการตามกลไกปกติ เพื่อทาให้ราคายา
เหมาะสมกับรายได้ของประชาชน ยกตัวอย่างเช่น ยาในกลุ่มยาปฏิชีวนะที่จาเป็ น ยาแก้ปวด และยารักษาโรคอื่นๆ ทั้งนี้ รวม
ไปถึงยาที่ยงั มีสิทธิบตั รอยูแ่ ละหมดสิ ทธิบตั รแล้ว แผนปฏิบตั ิการฯ นี้จะช่วยส่ งเสริ มกลไกที่มีอยูใ่ ห้เข้มแข็งมากขึ้น เช่น การ
จัดประกวดราคายาตามกลไกตลาด การกาหนดราคายาที่เป็ นกลาง ฯลฯ
การกาหนดราคากลางของยาเป็ นวิธี การแก้ปั ญ หาราคายาแพงอี กวิธี หนึ่ ง ซึ่ งได้มีการดาเนิ น การมาเป็ นระยะ
เวลานาน แต่ก็ยงั คงไม่สามารถแก้ปัญหาราคายาแพงจนเป็ นเหตุให้ประชาชนทัว่ ไปไม่สามารถเข้าถึงยาได้อย่างทัว่ ถึง และ
ปัจจุบนั ปัญหาการกลายพันธ์ของโรคและอุบตั ิการณ์การเกิดโรคใหม่ ๆ มีมากขึ้น ทาให้มีความจาเป็ นต้องใช้ยาใหม่ๆเพื่อการ
รักษาและป้ องกันโรคที่เกิ ดขึ้น ยาใหม่เหล่านี้ จะมีการจดสิ ทธิ บตั รไว้โดยบริ ษทั ที่ ได้รับสิ ทธิ บตั รยาส่ วนใหญ่ท้ งั หมดเป็ น
บริ ษทั ข้ามชาติ ทาให้ประเทศไทยซึ่ งเป็ นประเทศผูใ้ ช้ยาไม่สามารถควบคุมราคายาได้ จึ งทาให้ตลาดยาสิ ทธิ บตั รมีราคาสู ง
และเกิดการผูกขาดของยาจดสิ ทธิ บตั ร โดยปกติวิธีการกาหนดราคาของตัวแทนจาหน่ายซึ่ งเป็ นบริ ษทั ลูกของบริ ษทั ผูผ้ ลิตที่
เข้ามาประกอบธุ รกิ จ ในประเทศไทย จะใช้ฐานของราคาซึ่ งจะถูกกาหนดโดยบริ ษทั แม่ ที่อ ยู่ในต่างประเทศ ซึ่ งเรี ย กว่า
“Transfer Prices” และ บวกด้วยต้นทุนส่ วนที่เพิ่มขึ้น (mark up) อาทิ ค่าภาษีนาเข้า ค่าขนส่ ง ค่าเบี้ยประกันภัย ค่าใช้จ่ายใน
การนาเข้า (shipping) หรื ออาจจะมี ค่าโกดังเก็บสิ นค้าเพื่อรอดาเนิ นงานในเรื่ องภาษีศุลกากรซึ่ งเรี ยกว่าคลังทัณฑ์บน ค่า
ตรวจสอบคุณภาพสิ นค้า การขาดทุนจากอัตราแลกเปลี่ยน ค่าใช้จ่ายในการดาเนิ นการ และผลกาไรที่ บริ ษทั ผูจ้ ดั จาหน่ าย
ต้องการ ด้วยเหตุน้ ี ประเทศที่ตอ้ งการยาที่มีราคาเหมาะสมหรื อ มีราคาที่ผปู้ ่ วยส่ วนใหญ่สามารถจ่ายได้ เพื่อใช้ในการรักษา
เร่ งด่วน เช่น ยารักษาโรคเอดส์ จะประกาศมาตรการบังคับใช้ “สิ ทธิ เหนือสิ ทธิ บัตร” (compulsory licensing – CL) ซึ่ งเป็ น
มาตรการทางกฎหมายของไทยที่บญั ญัติไว้ในพระราชบัญญัติสิทธิ บตั ร พ.ศ. 2522 ส่ วนที่ 5 การใช้สิทธิ ตามสิ ทธิ บตั ร มาตรา
45-52 โดยมีวตั ถุประสงค์ดงั นี้
สิ ทธิ บัตร (patent) เป็ นเอกสารสิ ทธิ ที่รัฐออกให้แก่ ผูล้ งทุ นวิจยั และพัฒนาสิ่ งประดิ ษฐ์ใหม่ๆ ที่ มีคุณค่าทาง
อุตสาหกรรม โดยรัฐให้สิทธิ ผูกขาดการผลิต นาเข้า จาหน่ าย หรื อประดิษฐ์สิ่งประดิษฐ์น้ นั 20 ปี นับแต่วนั ยื่นจดสิ ทธิ บตั ร
โดยมีเจตนารมณ์เพื่อเป็ นสิ่ งตอบแทนให้กบั ผูค้ ิดค้นนวัตกรรม ซึ่ งเป็ นการกระตุน้ ให้เกิดการประดิษฐ์สิ่งต่างๆ มากขึ้น
แต่ปัญหาที่เกิดกับสิ ทธิ บตั รยา คือ ยาที่คิดค้นขึ้นใหม่จะมีราคาสูงมาก เนื่องจากต้องซื้ อยาจากบริ ษทั ข้ามชาติซ่ ึ งเป็ น
ผูท้ รงสิ ทธิ บตั รเท่านั้น เป็ นเวลาอย่างน้อย 20 ปี จากปั ญหาดังกล่าว ประเทศไทยได้ประกาศใช้สิทธิ เหนือสิ ทธิ บตั ร (CL) กับ
ยา 3 รายการคือ ยา Efavirenz ยา Lopinavir + Ritronavir หรื อที่รู้จกั กันในชื่อ Kaletra ซึ่ งเป็ นยาต้านไวรัสเอดส์สูตรดื้อยา
และยา Plavix (Clopidogrel) สาหรับผูป้ ่ วยโรคหัวใจ เมื่อเดือนพฤศจิกายน ปี พ.ศ. 2549 ซึ่ งการกระทาของรัฐบาลไทยเป็ นไป
ตามมาตรา 51 ของ พระราชบัญญัติสิทธิ บตั ร และเป็ นไปตามข้อตกลงที่ประกาศ ณ กรุ งโดฮา (Doha Declaration on TRIPs
and Public Health) ภายใต้องค์การการค้าโลก หรื อ WTO (World Trade Organization) ที่กาหนดว่าประเทศสมาชิกมีสิทธิ
กาหนดเหตุผลและเงื่อนไขการบังคับใช้สิทธิ ตามสิ ทธิ บตั รด้วยตนเอง นอกจากนี้ ในปี พ.ศ. 2551 ประเทศไทยได้ตดั สิ นใจ
Page |4

ออกประกาศสิ ทธิ เหนือสิ ทธิ บตั รกับยาที่มีสิทธิ บตั รเพิ่มอีก 4 รายการ คือ 1) โดซี แท็กเซล (Docetaxel) ยารักษาโรคมะเร็ ง
ปอดและมะเร็ งเต้านม 2) ยาเออร์โลทินิบ (Erlotinib) ยารักษาโรคมะเร็ งปอด 3) เลโทรโซล (Letrozole) ยารักษาโรคมะเร็ งเต้า
นม และ 4) ยาอิมาทินิบ (Imatinib) ยารักษามะเร็ งเม็ดเลือดขาวและมะเร็ งทางเดินอาหาร
ผลดีในการประกาศ CL ยา ทาให้ยามี ราคาถูกลงอย่างมากทาให้ประชาชนที่ ตอ้ งการใช้ยามี โอกาสได้เข้าถึ งยา
ได้มากขึ้น โดยที่ยาที่ประกาศใช้ในครั้งแรกทั้ง 3 ตัวราคาลดลง โดยปกติคนไข้ 1 คนที่ใช้ยา Efavirenz จะมีค่าใช้จ่ายเดือนละ
ประมาณ 1,300 บาท ลดลงเหลือเพียงเดือนละประมาณ 650 บาท และ Clopidogrel จากราคาเม็ดละกว่า 70 บาท เหลือเพียง
เม็ดละไม่เกิ น 10 บาท การที่ยารักษาโรคมะเร็ งมีราคาถูกลงอย่างมากทาให้โครงการ 30 บาทรักษาทุกโรคสามารถดาเนิ น
ต่อไปได้โดยที่รัฐบาลประหยัดงบประมาณได้ไม่ต่ากว่า 1,000 ล้านบาทต่อปี
อย่างไรก็ตามการประกาศสิ ทธิ เหนือสิ ทธิ บตั รยา ทาให้ประเทศไทยถูกจับตามองว่าเป็ นประเทศที่ละเมิดลิขสิ ทธิ์
และลดระดับประเทศไทยจากประเทศที่ถูกจับตามอง (Watch List: WL) ไปเป็ นประเทศที่ถูกจับตามองเป็ นพิเศษหรื อ
Priority Watch List (PWL) ยิง่ กว่านั้นประเทศสหรัฐอเมริ กายังได้ประกาศที่จะตัดสิ ทธิ พิเศษทางภาษี (Generalized System
of Preferences: GSP) ของไทยอันเป็ นผลให้ธุรกิจส่ งออกของไทยซบเซาลง และหากประเทศไทยมีการเพิ่มการประกาศใช้
สิ ทธิเหนือสิ ทธิบตั รยามากชนิดขึ้น ประเทศไทยอาจจะถูกจัดอยูใ่ นกลุ่มประเทศที่มีการละเมิดลิขสิ ทธิ์ มากที่สุด หรื อ Priority
Foreign Country (PFC) และประเทศสหรัฐอเมริ กาจะใช้ทุกยุทธวิธีในการกีดกันทางการค้าเป็ นการตอบโต้ จากปั ญหา
ดังกล่าว สานักงานเลขาธิ การ สภาติบญ ั ญัติแห่ งชาติ ได้มีหนังสื อลงวันที่ 18 ตุลาคม พ.ศ. 2550 เกี่ยวกับการแก้ไขเพิ่มเติม
พระราชบัญญัติยา พ.ศ. 2510 โดยมีการกาหนดประเด็นของการเปิ ดเผยข้อมูลของโครงสร้างราคายาซึ่ งประกอบด้วยต้นทุน
ของตัวยาสาคัญ (active ingredients) และส่ วนผสมอื่นๆ เช่น แป้ ง น้ าตาล กลูโคส วัสดุบรรจุหีบห่ อ ค่าแรงงาน ค่าใช้จ่ายการ
ผลิต ค่าการตลาด ค่าโฆษณา เป็ นต้น การเปิ ดเผยข้อมูลเหล่านี้ จะเป็ นแนวทางให้ผบู ้ ริ โภคตัดสิ นใจเลือกบริ โภคยาแต่ละ
ประเภทได้อ ย่า งมี เหตุ ผล โดยอาจเลื อกยาตัวอื่ น ซึ่ งมี ร าคาถูก กว่า แต่ คุ ณ ภาพหรื อคุ ณ สมบัติ ในการรั ก ษาใกล้เ คี ย งกัน
นอกจากนี้ แล้วพระราชบัญญัติยาฉบับใหม่ที่จะนามาใช้ ยังไม่รับขึ้ นทะเบี ยนตารั บยาที่ มีโครงสร้ างราคายาไม่สมเหตุผล
หรื อไม่คุม้ ค่า พร้อมกันนี้ ยงั จะนามาตรการการควบคุมราคายากับยาที่จาหน่ายอยูใ่ นท้องตลาดด้วยการติดป้ ายราคาขาย และ
การขึ้นราคาต้องได้รับการพิจารณาเห็นชอบจากคณะกรรมการอาหารและยา (อย.) เช่นเดียวกับสิ นค้าอุปโภคบริ โภคที่จาเป็ น
ตัวอื่นด้วย
ดังนั้นเพื่อให้สอดคล้องกับสภาพแวดล้อมที่เปลี่ยนแปลงและการเปลี่ยนแปลงในพระราชบัญญัติยาฉบับใหม่และ
เพื่อให้ทราบโครงสร้างของราคายาตามใบสั่งแพทย์ที่สาคัญ ซึ่ งจะสามารถใช้เป็ นแนวทางในการเปรี ยบเทียบกับโครงสร้าง
ราคาของยาที่จะขอขึ้นทะเบียนใหม่และใช้เป็ นแนวทางในการควบคุมราคายาที่ปัจจุบนั จาหน่ายอยูใ่ นตลาด พร้อมกันนี้ เพื่อ
ตรวจสอบความเหมาะสมของราคากลางของยาที่ กาหนดอยู่ในปั จจุบนั ว่าเหมาะสมหรื อไม่ ตลอดจนเป็ นแนวทางในการ
จ่ายเงินชดเชยประเทศเจ้าของสิ ทธิ บตั รที่ได้รับผลกระทบจากการประกาศสิ ทธิ เหนื อสิ ทธิ บตั รยา (CL) และเพื่อต้องการ
เปรี ยบเทียบโครงสร้างต้นทุนของยาสามัญที่นาเข้าจากต่างประเทศ และยาสามัญที่ผลิตในประเทศเพื่อใช้เป็ นแนวทางในการ
ควบคุมราคายาให้เหมาะสม ตลอดจนใช้ในการวางแผนเพื่อลดต้นทุนงบประมาณยาของประเทศหรื อควบคุมให้เหมาะสม
ผูว้ ิจยั จึงสนใจศึกษาองค์ประกอบของโครงสร้างต้นทุนราคายาที่ใช้ในปัจจุบนั ของกลุ่มยา 4 ลักษณะดังนี้
1. กรณี ศึกษายาใหม่ราคาแพง ที่เป็ นยาจาเป็ น
2. กรณี ศึกษายาใหม่ ที่เป็ นยา Me-too ที่ยาต้นตารับเพิ่งหมดสิ ทธิ บตั รไป
3. กรณี ศึกษายาชื่อสามัญที่นาเข้า ได้แก่
3.1 กลุ่มยาที่ตอ้ งทาการศึกษาชีวสมมูล (Bioequivalence study)
3.2 กลุ่มยาที่ไม่ตอ้ งทาการศึกษาชีวสมมูล (Bioequivalence study)
Page |5

4. กรณี ศึกษายาชื่อสามัญที่ผลิตในประเทศ
4.1 ยาที่ตอ้ งทาการศึกษาชีวสมมูล (Bioequivalence study)
4.2 กลุ่มที่ไม่ตอ้ งทาการศึกษาชีวสมมูล (Bioequivalence study)

แหล่งทีม่ าของข้ อมูล


แหล่งข้อมูลแยกเป็ น 2 ส่ วน คือ ข้อมูลปฐมภูมิ (primary data) และข้อมูลทุติยภูมิ (secondary data) และ โดยมี
รายละเอียดดังนี้
ข้อมูลปฐมภูมิ (primary data) ได้จากการสัมภาษณ์เจ้าหน้าที่ของกรมศุลกากร กรมสรรพากร กรมพัฒนาธุรกิจการค้า
และจากบริ ษทั ตัวแทนจาหน่าย บริ ษทั ที่ทาหน้าที่นาสิ นค้าเข้า (shipping) ซึ่ งดาเนินการสัมภาษณ์โดยใช้การสัมภาษณ์แบบมี
โครงสร้างคาถามและแบบสอบถาม
ข้อมูลทุติยภูมิ (secondary data) ได้มาจากการสื บค้นและรวบรวมข้อมูลจากแหล่งข้อมูลต่าง ๆ อาทิ เอกสารแผ่น
พับ เว็บไซต์ ตลอดจนราคายาที่นาเข้าจากต่างประเทศที่สาแดงเพื่อเสี ยภาษีนาเข้าจากการบันทึกข้อมูลของกรมศุลกากร และ
ข้อมูลงบการเงินของบริ ษทั ตัวแทนจาหน่ายที่เกี่ยวข้องจากกรมพัฒนาธุรกิจการค้า รวมถึงข้อมูลงบการเงินของบริ ษทั ดังกล่าว
ที่ยนื่ ต่อกรมสรรพากรเพื่อเสี ยภาษีอากร หรื อสื บค้นข้อมูลจากฐานข้อมูลของตลาดหลักทรัพย์แห่ งประเทศไทย หากบริ ษทั
ดังกล่าวจดทะเบียนในตลาดหลักทรัพย์แห่งประเทศไทย

วัตถุประสงค์ของการวิจัย
การวิจยั นี้มีวตั ถุประสงค์ดงั ต่อไปนี้ คือ
1. เพื่อวิเคราะห์สัดส่ วนของโครงสร้างต้นทุนราคายาที่ใช้ในปั จจุบนั โดยแยกเป็ นยาใหม่ (new drugs) ที่ยงั ติด
สิ ทธิบตั ร ทั้งยาที่มีการออกฤทธิ์ ด้วยกลไกใหม่ (new chemicals) และยาที่ออกฤทธิ์ ดว้ ยกลไกเดิม (me-too)
2. เพื่อเปรี ยบเทียบโครงสร้างของราคายาชื่อสามัญ (generic products) ที่นาเข้าและที่ผลิตในประเทศ
3. เพือ่ เปรี ยบเทียบราคายาที่ใช้ในปั จจุบนั ตามโครงสร้างของต้นทุนราคายาที่คานวณได้กบั ราคายาซึ่ งโรงพยาบาล
ภาครัฐและเอกชนจาหน่ายให้คนไข้ และราคายากลาง (ถ้ามี)
4. วิเคราะห์ปัญหาและอุปสรรคในการสารวจข้อมูลจากภาครัฐที่เกี่ยวข้อง ได้แก่ กรมศุลกากร กรมการค้าภายใน
กรมการค้าต่างประเทศ กรมพัฒนาธุรกิจการค้า และกรมสรรพากร เพือ่ ใช้เป็ นแนวทางในการแก้ปัญหาและเป็ นข้อเสนอแนะ
ให้หน่วยงานต่างๆที่เกี่ยวข้องปรับปรุ งฐานข้อมูลและวิธีการเก็บข้อมูล เพื่อให้เป็ นประโยชน์กบั ประเทศมากที่สุด
5. วิเคราะห์ปัญหาและอุปสรรคในการสารวจข้อมูลจากภาคเอกชน ได้แก่บริ ษทั ตัวแทนจาหน่าย บริ ษทั ผูผ้ ลิต และ
บริ ษทั นาเข้าและส่ งออก เพื่อกาหนดรู ปแบบการนาเสนอข้อมูลทางการเงินที่เกี่ยวข้องในอันที่จะเป็ นประโยชน์ต่อ
สาธารณชนทัว่ ไป

ขอบเขตของการวิจัย
ขอบเขตของการวิจยั ประกอบด้วยการเก็บข้อมูลแบ่งออกเป็ น 2 ประเภทคือ
1. การสั มภาษณ์ เชิงลึก โดยเลือกผูใ้ ห้ขอ้ มูลสาคัญ (key respondents หรื อ key informants) จากตัวแทนของบุคลากร
ที่เกี่ยวข้องแยกออกเป็ น 2 กลุ่ม ดังนี้
Page |6

- หน่วยงานภาครัฐ ซึ่ งประกอบด้วย กรมศุลกากร กรมการค้าภายใน กรมการค้าต่างประเทศ กรมพัฒนา


ธุรกิจการค้า และกรมสรรพากร
- หน่วยงานภาคเอกชน ได้แก่บริ ษทั ผูน้ าเข้ายาจากต่างประเทศ บริ ษทั ผูผ้ ลิตยาสามัญในประเทศ และ
บริ ษทั รับนาสิ นค้าเข้าและส่ งสิ นค้าออก (shipping)
2. การสื บค้ นข้ อมูลเอกสาร จาก Web-site ในเรื่ องของข้อมูลทางการเงินจาก Web ของกรมศุลกากร กรมการค้า
ภายใน กรมการค้าต่างประเทศ กรมพัฒนาธุรกิจการค้า และกรมสรรพากร ตลอดจนบริ ษทั ผูผ้ ลิตหรื อผูน้ าเข้ายาทั้ง 4 กลุ่มที่
ต้องการศึกษา
หมายเหตุ รายชื่ อรายการยาและรายชื่ อบริ ษัทผู้ผลิตและผู้นาเข้ าที่ ใช้ ในการศึกษา ขอสงวนไว้ ขึน้ กับความสามารถในการ
เข้ าถึงข้ อมูลนั้นๆ
ตัวแปรที่จะศึกษา ประกอบด้ วย
1. ตัวแปรต้นที่จะศึกษาได้แก่
1.1 โครงสร้างต้นทุนของยานาเข้า ประกอบด้วยปั จจัยดังต่อไปนี้
- ราคาโอนจากบริ ษทั แม่ในต่างประเทศ
- ค่าภาษีศุลกากร
- ค่าใช้จ่ายในการขนส่ ง
- ผลขาดทุนจากอัตราแลกเปลี่ยนเงินตราต่างประเทศ
- ค่าใช้จ่ายในการนาเข้า (shipping)
- ค่าเก็บรักษาสิ นค้าก่อนการดาเนินการทางศุลกากร
- ค่าใช้จ่ายในการบริ หาร
- ค่าใช้จ่ายในการขาย (ค่าโฆษณา ค่านายหน้าพนักงาน ฯลฯ)
- ต้นทุนทางการเงิน อาทิ ดอกเบี้ยจ่าย ฯลฯ
- อัตรากาไรของบริ ษทั ตัวแทน
1.2 โครงสร้างต้นทุนของยาสามัญที่ผลิตในประเทศ ประกอบด้วยปั จจัยดังต่อไปนี้
ต้นทุนการผลิต ประกอบด้วย
- วัตถุดิบ (เคมีส่วนผสมของยา)
- ค่าแรงงานทางตรง
- ค่าใช้จ่ายการผลิต
ค่าใช้จ่ายดาเนินงาน
- ค่าใช้จ่ายในการบริ หาร
- ค่าใช้จ่ายในการขาย (ค่าโฆษณา ค่านายหน้าพนักงาน ฯลฯ)
- ต้นทุนทางการเงิน อาทิ ดอกเบี้ยจ่าย
อัตรากาไรของผูป้ ระกอบการ
2. ตัวแปรตามที่จะศึกษาได้แก่
โครงสร้างต้นทุนราคายาที่ใช้ในปัจจุบนั ของยาในกลุ่มดังต่อไปนี้
2.1. ยานาเข้าจากต่างประเทศ
2.2. ยาที่ผลิตภายในประเทศ
Page |7

กรอบแนวคิดของการศึกษามีดงั นี้

1. โครงสร้ างต้ นทุนยานาเข้ า

ราคาโอนจากบริษทั แม่ใน
ต่างประเทศ
ค่าใช้จา่ ยในการ
ค่าภาษีศุลกากร
บริหาร

ค่าใช้จา่ ยในการขนส่ง ต้นทุนราคายา โครงสร้าง


ค่าใช้จา่ ยในการขาย
ของบริษทั จัด ต้นทุน
+
ผลขาดทุนจากอัตราแลกเปลีย่ น ฯ จาหน่าย ราคายา
สาหรับยา สามัญที่
ค่าใช้จา่ ยในการนาเข้า ต้นทุนทางการเงิน
นาเข้า นาเข้า
(Shipping)
ค่าเก็บรักษาสินค้าก่อนการ กาไรทีต่ อ้ งการ
ดาเนินการทางศุลกากร

ขั้นตอนการเก็บรวบรวมข้อมูล มีดงั ต่อไปนี้


1. สื บหาข้อมูลบริ ษทั ผูผ้ ลิตและบริ ษทั ผูจ้ ดั จาหน่ ายสาหรับยานาเข้าและข้อมูลบริ ษทั ผูผ้ ลิตและผูจ้ าหน่ ายยาที่
ผลิตในประเทศจากฐานข้อมูล
2. สัมภาษณ์เจ้าหน้าที่กรมศุลกากร กรมการค้าภายใน กรมการค้าต่างประเทศ บริ ษทั นาเข้าและส่ งออก และ
บริ ษทั คลังสิ นค้าทัณฑ์บน ในเรื่ องของราคายาที่ นาเข้า (ราคาโอนจากบริ ษทั แม่ ในต่างประเทศ) ค่าภาษี
ศุลกากร ค่าใช้จ่ายในการขนส่ ง ค่าใช้จ่ายในการนาเข้า และค่าเก็บรักษาสิ นค้าก่อนการดาเนินการทางศุลกากร
3. สัมภาษณ์บริ ษทั ผูแ้ ทนจาหน่ายในเรื่ องโครงสร้างของค่าใช้จ่ายในการดาเนิ นงานซึ่ งประกอบด้วยค่าใช้จ่ายใน
การบริ หารและค่าใช้จ่ายในการขาย ซึ่ งรวมทั้งค่าโฆษณาและค่าส่ งเสริ มการขายเป็ นอัตราส่ วนเท่าไรจาก
ยอดขาย พร้อมทั้งตรวจสอบถึงผลกาไรขาดทุนจากอัตราแลกเปลี่ยนและผลกาไรขาดทุนของกิจการที่เป็ น
ตัวอย่าง
4. ตรวจสอบงบการเงินของบริ ษทั ผูจ้ ดั จาหน่ายยาที่ส่งกรมพัฒนาธุ รกิจการค้า และส่ งกรมสรรพากรเพื่อเสี ยภาษี
เงิ นได้ เพื่อตรวจสอบความถูกต้องของโครงสร้ างของค่าใช้จ่ายในการดาเนิ นงานที่ ได้รับจากบริ ษทั ผูจ้ ัด
จาหน่าย
Page |8

2. โครงสร้ างต้ นทุนราคายาสามัญที่ผลิตในประเทศ

วัตถุดบิ ทางตรง ค่าใช้จา่ ยในการ


(เคมีสว่ นผสมของยา) บริหาร
โครงสร้าง
ค่าใช้จา่ ยในการขาย ต้นทุน
ค่าแรงงานทางตรง ต้น+ทุนการ ราคายา
ผลิต สามัญที่
ต้นทุนทางการเงิน ผลิตใน
ประเทศ
ค่าใช้จา่ ยการผลิต กาไรทีต่ อ้ งการ

ขั้นตอนในการเก็บรวบรวมข้อมูล มีดงั ต่อไปนี้


1. สื บหาสูตรการผลิตของยาเป้ าหมายจากฐานข้อมูล
2. สื บหาราคาของวัตถุดิบจากฐานข้อมูล ประมาณการค่าแรงงานจากอัตราถัวเฉลี่ยของอุตสาหกรรมยาซึ่ งผลิตยา
ตามเป้ าหมาย
3. สัมภาษณ์ บริ ษทั ผูผ้ ลิ ตในเรื่ องโครงสร้ างของค่าใช้จ่ายในการดาเนิ นงานซึ่ งประกอบด้วยค่าใช้จ่ายในการ
บริ หาร ค่าใช้จ่ายในการขาย ซึ่ งรวมทั้งค่าโฆษณาและค่าส่ งเสริ มการขายเป็ นอัตราส่ วนเท่าไรจากยอดขาย
พร้อมทั้งตรวจสอบถึงผลกาไรขาดทุนจากอัตราแลกเปลี่ยนและผลกาไรขาดทุนของกิจการที่เป็ นตัวอย่าง
4. ตรวจสอบงบการเงินของบริ ษทั ผูจ้ ดั จาหน่ายยาที่ส่งกรมพัฒนาธุ รกิจการค้า และส่ งกรมสรรพากรเพื่อเสี ยภาษี
เงินได้ เพื่อตรวจสอบความถูกต้องของโครงสร้างของค่าใช้จ่ายในการดาเนิ นงานที่ได้รับทราบจากบริ ษทั ผูจ้ ดั
จาหน่าย

3. เปรียบเทียบโครงสร้ างราคายาสามัญที่นาเข้ าและราคายาสามัญทีผ่ ลิตในประเทศ

โครงสร้างต้นทุนราคายา โครงสร้างต้นทุนราคายา
สามัญทีน่ าเข้า สามัญทีผ่ ลิตในประเทศ

เปรี ยบเทียบโครงสร้างราคายาสามัญที่นาเข้าและผลิตในประเทศมีความแตกต่างกันหรื อไม่


Page |9

4.เปรียบเทียบโครงสร้ างราคายากับราคาตลาดของยาที่ขายในโรงพยาบาลของรัฐและเอกชน

โครงสร้างต้นทุนราคายาของ ความสัมพันธ์
โรงพยาบาลสาหรับยานาเข้า
ราคายาในกลุม่ ตัวอย่างที่
ขายในโรงพยาบาลของรัฐ
และเอกชน
โครงสร้างต้นทุนราคายาของ
โรงพยาบาลสาหรับยาสามัญ ความสัมพันธ์
ทีผ่ ลิตในประเทศ

จากกรอบแนวคิดข้างต้นเป็ นการเปรี ยบเทียบความสัมพันธ์ของโครงสร้างราคายาทั้งยานาเข้าและยาที่ผลิตใน


ประเทศกับการตั้งราคายาของโรงพยาบาล ดังนั้นจึงต้องเก็บรวบรวมราคายาจากโรงพยาบาลของรัฐบาลและโรงพยาบาล
เอกชน

สมมติฐานของการวิจัย
1. โครงสร้างต้นทุนราคายานาเข้าประกอบด้วย ราคาโอน 75% + ค่าภาษีศุลกากร 4% + ค่าใช้จ่ายในการขนส่ ง 4%
+ค่าใช้จ่ายในการออกของ 2% +ค่าใช้จ่ายในการดาเนินงาน 10% + กาไรที่ตอ้ งการ 5%
2. โครงสร้างราคายาสาหรับกลุ่มตัวอย่างเป็ นไปตามหลักของ Cost Oriented Pricing

ประโยชน์ ที่คาดว่ าจะได้ รับ


1. ใช้เป็ นแนวทางในการควบคุมราคายาในกลุ่มเป้ าหมาย เนื่ องจากโครงสร้างต้นทุนราคายาคือราคายาที่ตวั แทน
จาหน่ ายเสนอราคาโดยเฉลี่ย ซึ่ งสามารถนาโครงสร้ างต้นทุ นของราคายาที่ ได้เปรี ยบเที ยบกับราคากลางของยาว่ามีความ
เหมาะสมหรื อไม่
2. จากการสารวจดังกล่าวจะสามารถทราบถึงความสามารถในการเข้าถึงข้อมูลของผูบ้ ริ โภคว่ามีประสิ ทธิ ภาพ
เพียงไร เพราะเหตุผลหนึ่งซึ่ งทาให้ยามีราคาแพงคือการที่ผบู้ ริ โภคไม่สามารถเข้าถึงข้อมูลที่เกี่ยวข้อง ดังนั้นจึงเป็ นหน้าที่ของ
หน่วยงานภาครัฐที่ตอ้ งสร้างมาตรการหรื อข้อกาหนดเพื่อให้บริ ษทั ผูผ้ ลิตและจาหน่ายมีการเปิ ดเผยข้อมูลที่เป็ นประโยชน์ต่อ
ผูบ้ ริ โภคมากขึ้น

นิยามศัพท์
ความหมายของต้ นทุน
ต้นทุน (cost) หมายถึง “รายจ่ายที่เกิดขึ้นเพื่อให้ได้มาซึ่ งสิ นค้าหรื อบริ การซึ่ งอาจจ่ายเป็ นเงินสด สิ นทรัพย์อื่น หุ ้น
ทุน หรื อการให้บริ การ หรื อการก่อหนี้ ทั้งนี้ รวมถึงผลขาดทุนที่วดั ค่าเป็ นตัวเงินได้ที่เกี่ยวข้องโดยตรงกับการได้มาซึ่ งสิ นค้า
หรื อบริ การ”
P a g e | 10

The American Accounting Association (AAA) ได้ให้ความหมายของ “ ต้นทุน (cost) ” ว่า “Cost is a foregoing
measured in monetary terms, incurred or potentially to incurred to achieve a specific objective”.
The American Institute of Certified Public Accountants (AICPA) ได้ให้ความหมายของ “ต้นทุน (cost)” ว่า
“Cost is defined as an exchange price, a foregoing, a sacrifice made to secure benefit”.
The National Association of Accountants (NAA) ได้ให้ความหมายของ “ต้นทุน (cost)” ว่า “The cash or cash
equivalent value required to attain an objective such as acquiring the goods and service used, complying with a contract,
performing a function or product and distributing a product”.
ความหมายของตัวแปรสาหรับยานาเข้ า
ราคาโอน (transfer prices) จากบริ ษทั แม่ในต่างประเทศ เป็ นราคาที่บริ ษทั ผูผ้ ลิตในต่างประเทศตั้งราคา
ที่บริ ษทั ตัวแทนจาหน่ายหรื อบริ ษทั ลูกในประเทศไทยต้องชาระให้บริ ษทั ผูผ้ ลิตในต่างประเทศ
Transfer Pricing คือ การที่คู่สัญญาทาธุ รกรรมระหว่างกัน โดยกาหนดราคาซื้ อ-ขาย สิ นค้าหรื อให้บริ การ
ที่แตกต่างไปจากราคาตลาด หรื อ Arm's Length Price โดยที่กรมสรรพากรได้มีคาสั่งที่ ป.113/2545 (ลงวันที่ 16 พฤษภาคม
2545) เรื่ อง “การเสี ยภาษีเงินได้ของบริ ษทั หรื อห้างหุ ้นส่ วนนิ ติบุคคลกรณี การกาหนดราคาโอนให้เป็ นไปตามราคาตลาด”
เพื่อให้เจ้าพนักงานสรรพากรถือเป็ นแนวทางปฏิบตั ิให้เป็ นมาตรฐานเดียวกัน ในการกาหนดแนวทางการประเมินรายได้ หรื อ
รายจ่ายให้เป็ นไปตามราคาตลาดในการคานวณกาไรสุ ทธิ เพื่อเสี ยภาษีเงินได้ของบริ ษทั หรื อห้างหุ น้ ส่ วนนิ ติบุคคล ตลอดจน
ระบุรายละเอี ยดของเอกสารหลักฐาน 10 ข้อที่ ผูเ้ สี ยภาษี ควรจัดทาประกอบการพิจารณาของเจ้าพนักงานประเมิ นคาสั่ง
กรมสรรพากรฉบับนี้ จากคาสั่งของกรมสรรพากรข้างต้นเป็ นการออกแนวทางในการแก้ปัญหาในเรื่ องของการหลีกเลี่ยงของ
บริ ษทั ที่มีความเกี่ยวพันกัน อาทิ บริ ษทั ย่อย2 บริ ษทั ร่ วม3 หรื อบริ ษทั ที่เกี่ยวเนื่ องกัน4 เพื่อให้เสี ยภาษีเงินได้นอ้ ยที่สุดหรื อไม่
เสี ยเลย
ค่ าภาษีศุลกากร หมายถึง ภาษีที่เรี ยกเก็บจากราคาศุลกากร
“ราคาศุลกากร” หรื อ “ราคา” แห่งของอย่างใดนั้น ในกรณี ของนาเข้า หมายถึง ราคาของสิ นค้านาเข้าเพื่อ
ใช้เป็ นฐานในการประเมินภาษีอากร ปั จจุบนั ประเทศไทยใช้ราคาศุลกากรที่เรี ยกว่า “ระบบราคาแกตต์ (GATT Valuation)”
ขององค์การศุลกากรโลก (World Trade Organization: WTO) ในการกาหนดราคาสิ นค้าขาเข้าสาหรับการคานวณค่าภาษี
อากร ปกติการกาหนดราคาศุลกากรจะอยูบ่ นพื้นฐานของราคาซื้ อขายของที่นาเข้าซึ่ งเป็ นราคาที่ผซู ้ ้ื อจ่ายหรื อพึงจ่ายจริ ง
ให้กบั ผูข้ ายในต่างประเทศ อย่างไรก็ดี ราคาซื้ อขายของที่นาเข้านั้น จะอยูภ่ ายใต้เงื่อนไขบางประการ เช่น การซื้ อขายผูซ้ ้ื อกับ
ผูข้ ายต้องไม่มีความสัมพันธ์กนั หรื อการซื้ อขายนั้นต้องไม่มีเงื่อนไขอย่างอื่นอีก จาก Web กรมศุลกากร
ค่ าใช้ จ่ายในการขนส่ ง หมายถึง ค่าขนส่ งสิ นค้าจากประเทศผูผ้ ลิตหรื อผูจ้ าหน่ายจนถึงบริ ษทั ผูน้ าเข้าที่
ผูน้ าเข้าต้องชาระ ซึ่ งหมายรวมถึงค่าขนส่ ง ค่าประกันภัย และค่าดาเนินการต่าง ๆ เพื่อให้สินค้าถึงสถานที่ของผูน้ าเข้า
ผลขาดทุนจากอัตราแลกเปลีย่ นเงินตราต่ างประเทศ หมายถึง ผลต่างระหว่างอัตราแลกเปลี่ยนเงินตรา
ต่างประเทศ ณ วันที่ได้รับสิ นค้าและวันที่ชาระเงินค่าสิ นค้า
ค่ าใช้ จ่ายในการนาเข้ า (shipping) หมายถึง ค่าใช้จ่ายที่เกิดขึ้นในกระบวนการนาสิ นค้าผ่านด่านศุลกากรที่
ต้องเสี ยให้บริ ษทั ตัวแทนในการนาเข้า-ส่ งออก (shipping)

2
บริ ษทั ที่มีการถือหุน้ ระหว่างกันเกินกว่าร้อยละ 50
3
บริ ษทั ที่มีการถือหุน้ ระหว่างกันตั้งแต่ร้อยละ 20 แต่ไม่เกินร้อยละ 50
4
บริ ษทั ที่มีเจ้าของหรื อผูถ้ ือหุ น้ รายใหญ่เดียวกัน
P a g e | 11

ค่ าเก็บรักษาสิ นค้ าก่อนการดาเนินการทางศุลกากร หมายถึง ค่าเช่าคลังสิ นค้า ค่าดูแลสิ นค้าในระหว่างรอ


การดาเนินงานทางศุลกากร
ค่ าใช้ จ่ายในการบริหาร หมายถึง ค่าใช้จ่ายที่เกิดขึ้นในกิจการ อาทิ ค่าสาธารณูปโภค สานักงาน เงินเดือน
พนักงานในสานักงาน ค่าเครื่ องเขียนสิ่ งพิมพ์ ค่าเสื่ อมราคาสิ นทรัพย์ถาวรในสานักงาน เช่นเครื่ องคอมพิวเตอร์ โต๊ะเก้าอี้ ซึ่ ง
เรี ยกว่าอุปกรณ์สานักงาน เป็ นต้น ค่าใช้จ่ายต่างๆที่กล่าวมา ยกเว้นค่าใช้จ่ายของแผนกขาย
ค่ าใช้ จ่ายในการขาย หมายถึง ค่าใช้จ่ายต่าง ๆ ที่เกี่ยวข้องกับแผนกขายโดยตรง เช่น ค่าโฆษณา ค่า
นายหน้าพนักงาน ค่าขนส่ งออก เงินเดือนพนักงานขาย หรื อ ค่าใช้จ่ายในการส่ งเสริ มการขายอื่น ๆ
ค่ าใช้ จ่ายทางการเงิน หมายถึง ต้นทุนทางการเงิน คือ ดอกเบี้ยจ่ายที่เกิดจากเงินกูย้ มื เพื่อใช้ในการ
ดาเนินงาน
อัตรากาไรของบริษัทตัวแทน หมายถึง กาไรของกิจการต่อค่าขายของกิจการ
ความหมายของตัวแปรสาหรับยาสามัญที่ผลิตในประเทศ
วัตถุดิบทางตรง หมายถึง เคมีหลัก (active ingredient) ซึ่ งเป็ นส่ วนผสมที่สาคัญของยา หรื อ อาจจะหมาย
รวมถึงส่ วนผสมที่เป็ น non-active ingredient เช่น แป้ ง กลูโคส สี เป็ นต้น บางกิจการนาภาชนะบรรจุรวมเป็ นส่ วนหนึ่ งของ
วัตถุดิบ เนื่องจากสามารถคิดเข้าผลิตภัณฑ์ได้โดยตรง
ค่ าแรงงานทางตรง หมายถึง เงินที่จ่ายให้พนักงานที่ทางานในสายการผลิตโดยตรง
ค่ า ใช้ จ่ า ยการผลิต หมายถึ ง ค่ า ใช้จ่ า ยส่ ว นที่ เ ป็ นของโรงงานทั้ง หมดยกเว้น วัต ถุ ดิ บ ทางตรง และ
ค่าแรงงานทางตรง ค่าใช้จ่ายการผลิตนี้ ไม่ร่วมค่าใช้จ่ายส่ วนที่เกี่ยวข้องกับสานักงาน อาทิ ค่าไฟฟ้ าโรงงาน ค่าน้ าโรงงาน ค่า
เสื่ อมราคาเครื่ องจักร ค่าเสื่ อมราคาอาคารโรงงาน เงินเดือนผูจ้ ดั การโรงงาน เงินเดือนผูจ้ ดั การฝ่ ายผลิต ค่าซ่ อมแซมเครื่ องจักร
เงินเดือนฝ่ ายซ่อมบารุ ง วัสดุโรงงานใช้ไป เครื่ องมือเครื่ องใช้ เป็ นต้น
ค่าใช้จ่ายที่ เกิ ดขึ้ นทั้ง 3 ส่ วนนี้ เรี ยกว่าปั จจัยการผลิ ตซึ่ งถื อว่าเป็ นต้นทุ นของผลิ ตภัณฑ์ ส่ วนค่าใช้จ่ายที่
เกิดขึ้นในสานักงานไม่ถือว่าเป็ นต้นทุนของผลิตภัณฑ์

การทบทวนวรรณกรรมและเอกสารทีเ่ กีย่ วข้ อง


ต้ นทุนการผลิต (Cost of Product) โดยปกติตน้ ทุนการผลิตไม่วา่ จะเป็ นการผลิตสิ นค้าประเภทใดก็ตาม
จะประกอบด้วยปั จจัยการผลิต 3 ส่ วนคือ ต้นทุนวัตถุดิบทางตรง (direct Materials) ต้นทุนค่าแรงงานทางตรง (direct Labor)
และ ค่าใช้จ่ายการผลิต (manufacturing overhead) ซึ่ งบางแห่ งเรี ยกว่าโสหุ ้ยการผลิต ดังนั้นค่าใช้จ่ายทั้งหมดที่เกิดขึ้นใน
โรงงานยกเว้นวัตถุดิบทางตรงและค่าแรงงานทางตรงถือว่าเป็ นค่าใช้จ่ายการผลิตทั้งจานวน การคิดปั จจัยการผลิตเป็ นต้นทุน
ของผลิตภัณฑ์สาหรับต้นทุนวัตถุดิบทางตรงถือว่าเป็ นต้นทุนที่สามารถคิดเข้ายาแต่ละชนิ ดได้โดยตรง หากแต่ค่าแรงงานและ
ค่าใช้จ่ายการผลิตจะต้องมี การปั นส่ วนเข้าเป็ นต้นทุนของยาแต่ละประเภท ถึงแม้ว่าในทางทฤษฎี ค่าแรงงานจะถื อว่าเป็ น
ต้นทุนทางตรง แต่ในทางปฏิบตั ิไม่สามารถคิดค่าแรงงานเข้ายาแต่ละชนิ ดโดยตรง(Cost Accounting sixth edition ,
Raiborn/Kinney/Prather-Kinsey, 2010 หน้า 39)
ค่าใช้จ่ายในการวิจยั พัฒนา (R&D) สภาวิชาชีพบัญชีได้กาหนดมาตรฐานการบัญชีฉบับที่ 38 ปรับปรุ ง
2552 เรื่ องสิ นทรัพย์ไม่มีตวั ตน หน้า 18 – 19 กาหนดให้แยกค่าใช้จ่ายดังกล่าวออกเป็ น 2 ส่ วน คือ ค่าใช้จ่ายในการวิจยั และ
ค่าใช้จ่ายในการพัฒนา โดยกาหนดว่า “กิจการต้องไม่รับรู ้รายจ่ายที่เกิดจากการวิจยั หรื อเกิดในขั้นตอนการวิจยั ของโครงการ
ภายในเป็ นสิ นทรัพย์ไม่มีตวั ตน แต่ตอ้ งรับรู ้เป็ นค่าใช้จ่ายเมื่อรายจ่ายนั้นเกิดขึ้น” หมายถึงว่าค่าใช้จ่ายในขั้นตอนของการวิจยั
นั้นให้ถือว่าเป็ นค่าใช้จ่ายในการดาเนิ นงานหรื อเป็ นค่าใช้จ่ายในการบริ หารและแสดงในงบกาไรขาดทุน
P a g e | 12

ส่ วนค่าใช้จ่ายในขั้นตอนของการพัฒนามาตรฐานกาหนดไว้วา่ “กิจการจะรับรู ้รายจ่ายที่เกิดจากการ


พัฒนาหรื อเกิดในขั้นตอนการพัฒนาของโครงการภายในเป็ นสิ นทรัพย์ไม่มีตวั ตนได้กต็ ่อเมื่อกิจการสามารถแสดงว่าเป็ นไป
ตามข้อกาหนดทุกข้อต่อไปนี้ ”
1. มีความเป็ นไปได้ทางเทคนิคที่กิจการจะทาสิ นทรัพย์ไม่มีตวั ตนให้เสร็ จสมบูรณ์เพื่อนามาใช้
ประโยชน์หรื อขายได้
2. กิจการมีความตั้งใจที่จะทาสิ นทรัพย์ไม่มีตวั ตนให้เสร็ จสมบูรณ์และนามาใช้ประโยชน์หรื อขาย
3. กิจการมีความสามารถที่จะนาสิ นทรัพย์ไม่มีตวั ตนนั้นมาใช้ประโยชน์หรื อขาย
4. กิจการสามารถแสดงให้เห็นถึงวิธีที่สินทรัพย์ไม่มีตวั ตนจะก่อให้เกิดประโยชน์เชิงเศรษฐกิจใน
อนาคตเหนืออื่นใดกิจการต้องสามารถแสดงให้เห็นว่าสิ นทรัพย์ไม่มีตวั ตนหรื อสิ่ งที่จะเกิดจาก
สิ นทรัพย์ไม่มีตวั ตนนั้นมีตลาดรองรับอยูจ่ ริ ง หรื อหากกิจการนาสิ นทรัพย์ไม่มีตวั ตนไปใช้เป็ น
การภายใน กิจการต้องสามารถแสดงให้เห็นถึงประโยชน์ที่จะได้รับจากสิ นทรัพย์ไม่มีตวั ตนนั้น
5. กิจการมีความสามารถในการจัดหาทรัพยากรด้านเทคนิค ด้านการเงิน และด้านอื่นได้เพียงพอที่
นามาใช้เพื่อทาให้การพัฒนาเสร็ จสิ้ นสมบูรณ์ และนาสิ นทรัพย์ไม่มีตวั ตนมาใช้ประโยชน์หรื อ
นามาขายได้
6. กิจการมีความสามารถที่จะวัดมูลค่าของรายจ่ายที่เกี่ยวข้องกับสิ นทรัพย์ไม่มีตวั ตน ที่เกิดขึ้นใน
ระหว่างการพัฒนาได้อย่างน่าเชื่อถือ

จากข้อกาหนดของมาตรฐานการบัญชีขา้ งต้นสามารถสรุ ปได้วา่ หากเป็ นขั้นตอนในการพัฒนา จะบันทึก


ค่าใช้จ่ายส่ วนนี้ เป็ นสิ นทรัพย์ไม่มีตวั ตนได้กต็ ่อเมื่อมีความตั้งใจ มีความสามารถ ทั้งทางด้านเทคนิค การเงิน รวมทั้ง
ความสามารถในการจาหน่ายสิ นค้าที่ผลิตได้ ให้นาค่าใช้จ่ายทั้งหมดที่เกิดขึ้นในขั้นตอนนี้บนั ทึกเป็ นสิ นทรัพย์ไม่มีตวั ตนซึ่ ง
เรี ยกว่า “สิ ทธิ บัตร” พร้อมทั้งทยอยตัดจาหน่ายตามประมาณการอายุของยาที่จะผลิตและจาหน่ายหรื อวิธีอื่นซึ่ งสมเหตุสมผล
ส่ วนของสิ ทธิบตั รที่ตดั จาหน่ายถือว่าเป็ นค่าใช้จ่ายการผลิตและผลักเข้าเป็ นต้นทุนของยาที่ผลิตได้ ส่ วนที่เหลือถือว่าเป็ น
สิ นทรัพย์อยูใ่ นงบแสดงการเปลี่ยนแปลงฐานะการเงิน
หากกิจการไม่สามารถแยกขั้นตอนการวิจยั ออกจากขั้นตอนการพัฒนา กิจการต้องถือว่ารายจ่ายของ
โครงการดังกล่าวเป็ นรายจ่ายที่เกิดในขั้นตอนการวิจยั เท่านั้น
อย่างไรก็ตามเมื่อบริ ษทั ผูผ้ ลิตได้ตน้ ทุนการผลิตตามที่กล่าวข้างต้นแล้ว ผูผ้ ลิตจะต้องพิจารณาถึงค่าใช้จ่าย
ในการดาเนินงาน ซึ่ งประกอบด้วย 3 ส่ วนคือ ค่าใช้จ่ายในการขาย ได้แก่ค่านายหน้า ค่าโฆษณา และ ค่าส่ งเสริ มการขายอื่น ๆ
เป็ นต้น ค่าใช้จ่ายในการบริ หาร ได้แก่เงินเดือนพนักงานทั้งหมดยกเว้นฝ่ ายขายและฝ่ ายผลิต ค่าน้ า ค่าไฟฟ้ า และค่าใช้จ่ายอื่น
ๆ ที่เกิดขึ้นในสานักงานทั้งหมด และค่าใช้จ่ายทางการเงินหรื อต้นทุนทางการเงินได้แก่ดอกเบี้ยจ่ายซึ่ งเกิดจากการกูย้ มื เพื่อ
นาเงินมาใช้ในการดาเนินงาน เป็ นต้น ค่าใช้จ่ายดังกล่าวจะปรากฏในงบกาไรขาดทุน โดยปกติแล้วผูป้ ระกอบการจะนา
ค่าใช้จ่ายส่ วนนี้ ไปคานวณราคาขายโดยบวกกับต้นทุนการผลิต ซึ่ งอาจจะพิจารณาเป็ นอัตราร้อยละของยอดขาย โดยพิจารณา
ว่าในอดีตที่ผา่ นมาว่าค่าใช้จ่ายส่ วนนี้เป็ นอัตราร้อยละเท่าไรของยอดขายเนื่องจากค่าใช้จ่ายส่ วนนี้ไม่มีส่วนสัมพันธ์กบั การ
ผลิต การตั้งราคาในลักษณะนี้เรี ยกว่าการตั้งราคาขายด้วยวิธีตน้ ทุนบวกกาไร (Cost Plus) หรื อ Cost Oriented Pricing ที่
จะต้องครอบคลุมทั้งค่าใช้จ่ายในการดาเนินงานและกาไรที่ตอ้ งการ
P a g e | 13

รู ปแบบการตั้งราคาขาย

ผู้ผลิต บริษัทตัวแทนจาหน่ าย โรงพยาบาล(ร้ านขายยา)


วัตถุดิบ (เคมีส่วนผสมของยา) x ราคาซื้ อ (ทุน) x ราคาซื้ อ (ทุน) x
ค่าแรงงานทางตรง x บวก ค่าใช้จ่ายนาเข้า x บวก ค่าขนส่ ง (ถ้ามี) x
ค่าใช้จ่ายการผลิต x ต้นทุนยาของตัวแทน x ต้นทุนยาของคนกลาง x
รวมต้นทุนการผลิต x บวก ค่าใช้จ่ายดาเนิ นงาน x บวก ค่าใช้จ่ายดาเนิ นงาน x
บวก ค่าใช้จ่ายดาเนินงาน x บวก กาไรที่ตอ้ งการ x บวก กาไรที่ตอ้ งการ x
บวกกาไรที่ตอ้ งการ x ราคาขาย x ราคาขายให้ผบู้ ริ โภค x
ราคาขายให้ตวั แทน x (sale price) (sale price)
(transfer price)

จากภาพข้างต้นแสดงให้เห็นโครงสร้างของราคาที่เป็ น Cost Oriented Pricing คือ การที่ผผู ้ ลิตนาต้นทุนทั้งส่ วนที่


เกี่ยวข้องกับการผลิตและไม่เกี่ยวข้องกับการผลิตมารวมกันและบวกกาไรตามที่ตอ้ งการและตั้งขึ้นเป็ นราคาขาย ดังนั้นโครงสร้าง
ต้นทุนของตัวแทน คือ โครงสร้างราคาขายของผูผ้ ลิต และโครงสร้างต้นทุนของโรงพยาบาลหรื อร้านขายยา คือ โครงสร้างราคาขายของ
ตัวแทนจาหน่ายนัน่ เอง ราคาสิ นค้าโดยทัว่ ไปจะมีความแตกต่างกันขึ้นอยูก่ บั ผูซ้ ้ื อแต่ละรายมีอานาจในการต่อรองที่แตกต่างกัน
กรณี น้ ีจะรวมถึงการนาเข้ายาในแต่ะละประเทศซึ่ งมีประสิ ทธิ ภาพที่แตกต่าง ทาให้ราคายาในบางประเทศมีราคาถูกกว่าใน
ประเทศไทยมาก นอกจากนี้แล้วหลังจากที่โรงพยาบาลหรื อร้านขายยาซื้ อยาเพื่อจาหน่ายให้แก่ประชาชนยังอาจมีการบวก
ค่าใช้จ่ายที่ทางโรงพยาบาลหรื อร้านขายยาจะต้องจ่ายและผลกาไรที่โรงพยาบาลหรื อร้านขายยาต้องการ
การกาหนดราคา (pricing) ด้วยวิธี Cost Plus หรื อ Cost Oriented Pricing เป็ นวิธีการตั้งราคาโดยมุ่งเน้น
ที่ตน้ ทุน และการกาหนดโครงสร้างของราคายาข้างต้นจะมุ่งเน้นที่ตน้ ทุนเต็ม (full – cost pricing) คือนาต้นทุนทั้งหมดซึ่ ง
ประกอบด้วยปั จจัยการผลิตทั้ง 3 ประเภทซึ่ งได้แก่วตั ถุดิบทางตรง ค่าแรงงานทางตรงและค่าใช้จ่ายการผลิต เป็ นฐานในการ
ตั้งราคา วิธีการตั้งราคาโดยทัว่ ไปมิใช่มุ่งเน้นเฉพาะต้นทุนเป็ นหลักหากแต้มีวธิ ี การหลายวิธี ดังเช่น รศ.ศิริวรรณ เสรี รัตน์และ
คณะ (2544) ได้กล่าวถึงวิธีการตั้งราคาในหนังสื อกลยุทธ์การตลาดและบริ หารการตลาดหน้า 228 – 238 ว่ามี 3 วิธีคือ
1. การตั้งราคาโดยมุ่งเน้นที่ตน้ ทุน (cost oriented pricing)
2. วิธีการตั้งราคาโดยยึดความต้องการของตลาดเป็ นเกณฑ์ (demand oriented pricing)
3. วิธีการตั้งราคาโดยยึดการแข่งขันเป็ นเกณฑ์ (competition oriented pricing)

รายละเอียดของการตั้งราคาทั้ง 3 วิธีมีดังนี้
1. การตั้งราคาโดยมุ่งเน้นที่ตน้ ทุน (cost oriented pricing) เป็ นการนาต้นทุนการผลิตเป็ นฐานในการตั้งราคา ซึ่ งรศ.
ศิริวรรณ เสรี รัตน์และคณะได้จาแนกการตั้งราคาโดยมุ่งเน้นที่ตน้ ทุนออกเป็ นดังนี้
1.1 การตั้งราคาโดยบวกเพิ่มจากต้นทุนเฉลี่ย (average cost pricing) คือการนา full cost ไปเฉลี่ยให้กบั
ผลิตภัณฑ์ที่ผลิตได้ในงวดบัญชีน้ นั และใช้เป็ นฐานในการตั้งราคา ได้สมการราคาดังนี้
Price = average full cost per unit + profit per unit
P a g e | 14

1.2 การตั้งราคาโดยบวกเพิ่มจากต้นทุนผันแปร (average variable cost pricing) วิธีน้ ีต่างกับวิธีแรกโดย


ราคาทุนที่นามาถัวเฉลี่ยเฉพาะส่ วนที่เป็ นต้นทุนผันแปร หรื ออาจจะนาต้นทุนส่ วนเพิ่ม (incremental cost) ได้สมการราคา
ดังนี้
Price = average variable cost per unit + profit per unit
1.3 การตั้งราคาเพื่อให้ได้ผลตอบแทนจากการลงทุนตามเป้ าหมาย (target return pricing) พิจารณาที่เงิน
ลงทุนเป็ นฐานในการตั้งราคาโดยไม่คานึงถึงต้นทุนที่แท้จริ งของผลิตภัณฑ์
Price = (Total Investment + Total Profit ) + Variable Cost per Unit
Unit of Produce
1.4 การตั้งราคาโดยบวกเพิม่ จากราคาขาย (mark up on selling pricing) วิธีจะกาหนดผลกาไรที่ตอ้ งการ
เป็ นอัตราร้อยละของมูลค่าขาย กล่าวคือ ต้องการกาไร 20% ของมูลค่าขาย อย่างไรก็ตามการคานวณหาราคาขายต้องคานวณ
จากต้นทุนโดยสมมุติวา่ ต้นทุน 1,000 บาท ราคาขายจะเท่ากับ 1,000 x 100/80 = 1,250 บาท คานวณย้อนกลับกาไร 250 บาท
= 250/1250x100 = 20% ของราคาขาย ได้สมการราคาดังนี้
Price = Average Full or Variable Cost per Unit x percentage of Profit per sales
percentage of Cost (100 - percentage of Profit )
1.5 การบวกเพิ่มแบบลูกโซ่ (mark up chain) เป็ นวิธีการตั้งราคาโดยบวกเพิ่มจากต้นทุนที่ซ้ื อมา โดยเริ่ ม
จากผูผ้ ลิตซึ่ งรวบรวมต้นทุนของผลิตภัณฑ์และบวกกาไรเพิ่ม ผูค้ า้ ส่ งหรื อตัวแทนนาราคาที่ซ้ื อมาจากผูผ้ ลิตซึ่ งถือว่าเป็ น
ต้นทุนของผูค้ า้ ส่ งหรื อคนกลางและบวกกาไรเพิ่มอีกช่วงหนึ่ ง ส่ วนผูค้ า้ ปลีกก็นาราคาที่ตนซื้ อ (ราคาทุนของผูค้ า้ ปลีก) บวก
กาไรที่ตนต้องการเพิ่ม ดังนั้นหากสิ นค้าจานวนเดียวกันผ่านช่องทางการจาหน่ายมาก ๆ ก็จะทาให้ราคาสิ นค้าสู งขึ้นมาก
สามารถพิจารณาได้จากรู ปต่อไปนี้

บวกเพิ่ม
บวกเพิ่ม
บวกเพิ่ม ราคาที่ซ้ื อ ราคาที่ซ้ื อ
ต้นทุนผลิต (ต้นทุน) (ต้นทุน)
ผูผ้ ลิต ผูค้ า้ ส่ ง ผูค้ า้ ปลีก

2. วิธีการตั้งราคาโดยยึดความต้องการของตลาดเป็ นเกณฑ์ (demand oriented pricing) เป็ นการตั้งราคาซึ่ งคานึงถึง


ความต้องการที่เปลี่ยนแปลงไปตามราคา การตั้งราคาวิธีน้ ีรูปแบบไม่แน่นอนขึ้นอยูก่ บั ความต้องการสิ นค้าของผูบ้ ริ โภคว่ามี
ความอ่อนไหวต่อระดับราคาเพียงไร
3. วิธีการตั้งราคาโดยยึดการแข่งขันเป็ นเกณฑ์ (competition oriented pricing) เป็ นวิธีการตั้งราคาที่มุ่งที่การแข่งขัน
เป็ นเกณฑ์ ซึ่ งวิธีน้ ีจะไม่คานึงถึงความต้องการสิ นค้าของผูบ้ ริ โภคและไม่คานึ งถึงต้นทุนของกิจการเอง การตั้งราคาจะไม่มี
รู ปแบบที่แน่นอนขึ้นอยูก่ บั สถานการณ์ของกิจการและคู่แข่ง ซึ่ งในบางครั้งอาจจะต้องตั้งราคาสู งกว่าคู่แข่งก็ได้

ปราณี เอี่ยมสะอาด (2550) ยังได้แบ่งวิธีการกาหนดต้นทุนไว้หลายวิธีดงั นี้ คือการกาหนดราคาแบบคิดบวกเพิ่ม


(markup pricing) การกาหนดราคาเพื่อผลตอบแทนตามเป้ าหมาย (target-return pricing) วิธีกาหนดราคาตามคุณค่า
P a g e | 15

ส่ วนประกอบ (component value pricing) การกาหนดราคาตามราคาตลาด (going-rate pricing) เป็ นต้น นอกจากวิธีการตั้ง
ราคาดังกล่าวแล้วสิ่ งที่ตอ้ งคานึ งถึงในการตั้งราคาคือลักษณะของตลาด ว่าตลาดของผลิตภัณฑ์เป็ นตลาดชนิดผูกขาด ซึ่ งก็คือ
ตลาดสิ นค้าสิ ทธิ บตั รหรื อลิขสิ ทธิ์ ตลาดชนิ ดที่มีผผู ้ ลิตน้อยราย ตลาดที่มีการแข่งขันไม่สมบูรณ์ และประการสุ ดท้ายคือ
ตลาดซึ่ งมีการแข่งขันอย่างสมบูรณ์
ในกรณี ที่กิจการเป็ นตัวแทนจาหน่ายและนาเข้าสิ นค้าจากต่างประเทศต้นทุนจะเกิดจากราคาโอนของบริ ษทั ผูผ้ ลิต
(transfer prices) บวกค่าใช้จ่ายต่าง ๆ ที่เกิดขึ้นจนกระทัง่ สิ นค้าอยูใ่ นสภาพพร้อมที่จะขาย ค่าใช้จ่ายต่าง ๆ ได้แก่ ค่าขนส่ ง ค่า
ภาษีนาเข้า อากรขาเข้า ค่านาของออก (shipping) และค่าประกันภัยสิ นค้า เป็ นต้น อย่างไรก็ตามค่าใช้จ่ายต่าง ๆ ดังกล่าวจะ
รวมอยูใ่ นราคาสิ นค้าซึ่ งผูข้ ายแจ้งมาหรื อไม่น้ นั ขึ้นอยูก่ บั เงื่อนไขการส่ งมอบ ตามข้อกาหนดในการส่ งมอบสิ นค้าตาม INCO
TERM 1990 & 2000

งานวิจัยที่เกีย่ วข้ อง
ดวงกมล เลาหเกษมวงศ์, ทวีทรัพย์ เหลืองนทีเทพ (2536) ได้วิเคราะห์โครงสร้างต้นทุนการผลิต เพื่อใช้ในการ
วางแผนปรับเปลี่ยนขบวนการผลิต ให้เป็ นไปอย่างคุม้ ค่าทางเศรษฐศาสตร์ โดยเก็บข้อมูลการผลิตเป็ นเวลา 9 เดือน และ
รวบรวมข้อมูลจาก ทะเบียนครุ ภณ ั ฑ์ บัญชีแสดงการรับ-จ่ายสารเคมีที่ใช้ในการผลิต ฯลฯ ทาการแยกประเภทข้อมูลของ
ค่าใช้จ่ายตามหลักการบัญชี และวิเคราะห์ผล พบว่าในช่วงเวลาดังกล่าวผลิตยาทั้งสิ้ น 50 Lot จานวน 3,203,400 เม็ด ปั จจัย
สาคัญที่ทาให้ตน้ ทุนการผลิตสู งคือ ปริ มาณการขายยาน้อย โดยมีปัจจัยส่ งเสริ มคือการบริ หารงานภายใต้ระบบราชการ
ปริ มาณการขายที่นอ้ ยเป็ นปั จจัยจากัดของการผลิต ทาให้ไม่สามารถทาการผลิตได้เต็มกาลัง ส่ งผลให้ค่าใช้จ่ายที่เกิดขึ้นมี
สัดส่ วนของค่าใช้จ่ายคงที่ สูงมากกว่าที่ ควร ค่าใช้จ่ายคงที่ ที่เกิ ดขึ้นคิดเป็ น 53.92% ของค่าใช้จ่ายทั้งหมด ในขณะที่
ค่าใช้จ่ายแปรผัน 46.08% และเมื่อพิจารณาประเภทของค่าใช้จ่ายที่เกิดขึ้นมาก 3 อันดับแรกพบว่า อันดับหนึ่ ง เงินเดือน
พนักงาน 26.29% อันดับสอง สารเคมี 25.67% และอันดับสาม อุปกรณ์ที่ใช้ในการผลิตและการควบคุมคุณภาพยา 17.66%
คิดเป็ นต้นทุน 0.262 บาทต่อการผลิตยาพาราเซตามอล 1 เม็ด ซึ่ งขายในราคา 150 บาทต่อ 1,000 เม็ด (0.15 บาท/เม็ด) ดังนั้น
ถ้าจะให้คุม้ ค่าการลงทุน พบว่าต้องผลิตจานวนอย่างน้อย 15,614,847 เม็ด (244 Lot) ในปริ มาณการผลิตดังกล่าวจะมีผลทาให้
โครงสร้างของต้นทุนเปลี่ยนไปคือ ค่าใช้จ่ายคงที่ที่เกิดขึ้นคิดเป็ น 19.34% และค่าใช้จ่ายแปรผัน 80.66% ของค่าใช้จ่าย
ทั้งหมด

ระเบียบวิธีวจิ ัย
งานวิจยั นี้ เน้นศึกษาถึงโครงสร้างต้นทุนราคายาของกลุ่มตัวอย่าง พร้อมทั้งสร้างสมการของโครงสร้างต้นทุนราคา
ยาสาหรับกลุ่มตัวอย่าง โดยแบ่งการเก็บข้อมูลเป็ น 2 ส่ วนคือ
1. จากการวิ เ คราะห์ เ อกสาร เพื่ อ ให้ ท ราบสู ต รการผลิ ต ค่ า เฉลี่ ย ของต้น ทุ น ของวัต ถุ ดิ บ หลัก และ
สารประกอบ ค่าบรรจุภณ ั ฑ์ ค่าแรงงานทางตรง ค่าใช้จ่ายการผลิต ค่าใช้จ่ายในการขาย ค่าใช้จ่ายในการบริ หารและอัตราผล
กาไรของกิจการผูจ้ าหน่ายและผูผ้ ลิต
2. จากการสั มภาษณ์ เพื่อให้ทราบข้อมูลสาหรับราคาโอน ค่าใช้จ่ายในการนาเข้า ค่าภาษี และค่าใช้จ่าย
อื่น ๆ ในการนาเข้า ตลอดจนค่าใช้จ่ายการผลิต ค่าใช้จ่ายในการขาย ค่าใช้จ่ายในการบริ หารและอัตราผลกาไรของกิจการผู ้
จาหน่ายและผูผ้ ลิต

เครื่องมือทีใ่ ช้ ในการวิจัย
P a g e | 16

เครื่ อ งมื อ ที่ ใ ช้ได้แ ก่ การสั ม ภาษณ์ ผูท้ ี่ เ กี่ ย วข้อ งด้ว ยการสั ม ภาษณ์ แ บบมี โ ครงสร้ า งค าถามและ
แบบสอบถามปลายเปิ ด เนื่องจากโครงสร้างตันทุนของกลุ่มตัวอย่างมีความแตกต่างกัน และคาถามที่เป็ นปลายปิ ดไม่ทาให้ได้
ข้อมูลที่ถกู ต้อง และบางครั้งต้องใช้คาถามแก้ปัญหาเฉพาะหน้า ซึ่ งยังไม่เกิดขึ้นเพื่อให้ได้ขอ้ มูลตามที่ตอ้ งการ

การรวบรวมข้ อมูล
เก็บรวบรวมข้อมูลตามกรอบแนวคิดดังนี้

1. โครงสร้ างต้ นทุนของยานาเข้ า

ตัวแปรทีศ่ ึกษา สถานทีเ่ ก็บรวบรวมข้ อมูล


ราคาโอนจากบริ ษทั แม่ในต่างประเทศ - กรมศุ ล กากร (ภาคสนามโดยใช้แ บบสอบถาม
ค่าภาษีศุลกากร ปลายเปิ ด)
ค่าใช้จ่ายในการขนส่ ง
ผลขาดทุนจากอัตราแลกเปลี่ยนเงินตราต่างประเทศ - ศึ กษาจากงบการเงิ น (ภาคสนามกรมพัฒ นาธุ ร กิ จ
การค้า กรมสรรพากร กรมการค้าภายใน และ กรมการค้า
ต่างประเทศ)
- บริ ษั ท ผู้น าเข้ า ที่ ร ะบุ ไ ว้ใ นกลุ่ ม ตั ว อย่ า งโดยใช้
แบบสอบถามปลายเปิ ด
ค่าใช้จ่ายในการนาเข้าสิ นค้า (shipping) - บริ ษ ัท รั บ ส่ ง ออกและน าเข้า สิ น ค้า (ภาคสนาม
แบบสอบถามปลายเปิ ด)
ค่าเก็บรักษาสิ นค้าก่อนการดาเนินการทางศุลกากร - คลัง สิ น ค้าทัณ ฑ์บ น (ภาคสนาม แบบสอบถาม
ปลายเปิ ด)
ค่าใช้จ่ายในการบริ หาร - ศึ กษาจากงบการเงิ น (ภาคสนามกรมพัฒ นาธุ ร กิ จ
ค่าใช้จ่ายในการขาย การค้า กรมสรรพากร กรมการค้าภายใน และ กรมการค้า
ต้นทุนทางการเงิน ต่างประเทศ)
อัตรากาไรของบริ ษทั ตัวแทน - บริ ษั ท ผู ้น าเข้ า ที่ ร ะบุ ไ ว้ใ นกลุ่ ม ตั ว อย่ า งโดยใช้
แบบสอบถามปลายเปิ ด

2. โครงสร้ างต้ นทุนของยาสามัญที่ผลิตในประเทศ

ตัวแปรทีศ่ ึกษา สถานทีเ่ ก็บรวบรวมข้ อมูล


ค่าวัตถุดิบทางตรง - สารวจข้อมูลสูตรการผลิตจากฐานข้อมูล
ค่าแรงงานทางตรง - บริ ษัท ผูน้ าเข้า ที่ ร ะบุ ไ ว้ใ นกลุ่ ม ตัว อย่า งโดยใช้แ บบสอบถาม
ค่าใช้จ่ายการผลิตหรื อโสหุ ย้ การผลิต ปลายเปิ ด
P a g e | 17

ค่าใช้จ่ายในการบริ หาร - ศึ ก ษาจากงบการเงิ น (ภาคสนามกรมพั ฒ นาธุ ร กิ จ การค้ า


ค่าใช้จ่ายในการขาย กรมสรรพากร กรมการค้าภายใน และ กรมการค้าต่างประเทศ)
ต้นทุนทางการเงิน - บริ ษ ัท ผูน้ าเข้า ที่ ร ะบุ ไ ว้ใ นกลุ่ ม ตัว อย่า งโดยใช้แ บบสอบถาม
อัตรากาไรของบริ ษทั ตัวแทน ปลายเปิ ด

3. เก็บรวบรวมราคายาที่อยู่ในกลุ่มตัวอย่ างที่ต้องการศึ กษาทั้ง 4 กลุ่มยาจากโรงพยาบาลที่กาหนดทั้งจาก


โรงพยาบาลของรัฐและเอกชน

ระยะเวลาของการทาวิจัย
ระยะเวลา 6 เดือน ตั้งแต่เริ่ มได้รับทุนอุดหนุนการวิจยั

บรรณานุกรม
ดวงมณี โกมารทัต. 2546. การบัญชี ต้นทุน. พิมพ์ครั้งที่ 9. กรุ งเทพมหานคร: บริ ษทั แอ็คทีฟ พริ้ นท์ จากัด.
ปราณี เอี่ยมลออภักดี. 2550. การบริ หารการตลาด. พิมพ์ครั้งที่ 1. กรุ งเทพมหานคร: บริ ษทั ธนาเพรส จากัด.
พัชริ นทร์ ไตรรัตน์รุ่งเรื อง. 2553. การบัญชี ต้นทุน. พิมพ์ครั้งที่ 6. กรุ งเทพมหานคร: โรงพิมพ์มหาวิทยาลัยกรุ งเทพ.
พิษณุ จงสถิตวัฒนา. 2548. การบริ หารการตลาด การวิเคราะห์ กลยุทธ์ และการตัดสิ นใจ. พิมพ์ครั้งที่ 7. กรุ งเทพมหานคร:
สานักพิมพ์มหาวิทยาลัยธรรมศาสตร์ .
ศศิวิมล มีอาพล. 2546. การบัญชี เพื่อการจัดการ. พิมพ์ครั้งที่ 6. กรุ งเทพมหานคร: บริ ษทั อินไมนิ่ง จากัด.
ศิริวรรณ เสรี รัตน์และคณะ. 2544. การบริ หารการตลาดยุคใหม่ . กรุ งเทพมหานคร: บริ ษทั ธี ระฟิ ล์มและไซเท็กซ์ จากัด.
สมาคมนักบัญชีและผูส้ อบบัญชีรับอนุญาตแห่งประเทศไทย. 2546. ศัพท์ บัญชี . กรุ งเทพมหานคร: บริ ษทั พี.เอ.ลีฟวิง่ จากัด.
Blocher,Chen, and Lin. 1997. Cost Management: A Strategic Emphasis. United States of America: McGraw-Hill.
Edward J. VanDerbeck. 2002. Principles of Cost Accounting. 12Th ed. South-Western, a division of Thomson Learning:
Cover to Cover Publishing, Inc.
Horngren, Charles T., Foster, George. And M. Datar, Srikant. 1997. Cost Accounting: A Managerial Emphasis. 9th ed.
Englewood Cliffs, N.J.: Prentice-Hall International, Inc.
Hicks, Douglas T. 1999. Activity-Based Costing Making It Work for Small and Mid-Sized Companies. 2nd ed.
United States of America: John Wiley & Sons, Inc.
Hilton, Ronald W., Maher, Michael W. and Selto, Frank H. 2000. Cost Management Strategies for Business Decisions.
2nd ed. United States of America: McGraw-Hill.
Moriarity, Shane, and Allen, Carl P. 1991. Cost Accounting. 3rd ed. New York: John Wiley & sons, Inc.
Raiborn/Dinney/Prather-kinsey. 2008. Cost Accounting. 6th ed. South-Western, a division of Thomson Learning: LEAP
Publishing, Inc.

You might also like