You are on page 1of 28

คนทางาน (Workazine) วารสารออนไลน์ของคนทางานเพื่อคนทางาน (ฉบับที่ 12 ประจาเดือนธันวาคม 2553)

สถานการณ์เจรจาข้อเรียกร้องปี 2553
ความเคลื่อนไหวแรงงานโลก [หน้า 2] รายงานพิเศษ >> สถานการเจรจาข้อเรียกร้อง ปี
2553 [หน้า 4] รายงานพิเศษ >> เปิด “ศูนย์วัฒนธรรมแรงงาน” สมานฉันท์ข้ามพรมแดน
เราทั้งผองล้วนพี่น้องกัน [หน้า 9] บทความ >> แรงงานที่ถูกลืม [หน้า 12] จับตาประเด็น
ร้อน [หน้า 15] ความเคลื่อนไหวแรงงานไทย [หน้า 20] คนทำงำน ธันวำคม 2553 >> 1
ความเคลื่อนไหวแรงงานโลก >>

สเปนเริ่มกลับมาบิน หลังพนง.ควบคุมจราจรอากาศเลิ กผละงาน ด้วยรถส่วนตัว แต่สถานการณ์กเ็ ลวร้ายยิง่ ขึน้ เมื่อกลุ่มผูช้ ุมนุ มเดินขบวน
บริเวณใจกลาง เมืองในช่วงบ่าย การเคลื่อนไหวครัง้ นี้เกิดขึ้นหลังจากที่
5 ธ.ค. 53 - การจราจรทางอากาศของสเปนเริ่มกลับมาใช้การได้ หลัง
รัฐบาลกรีซประกาศลดค่าแรง และเบี้ยเลี้ยง รวมถึงวางแผนแปรรูปการ
พนักงานควบคุมการจราจรทางอากาศ ที่มรี ายได้ปีละหลายสิบล้านบาท
รถไฟบางส่ ว นให้เ ป็ น ของเอกชน เพื่อ ลดตัว เลขขาดดุ ล งบประมาณ
ผละงานประท้วงเรื่องค่าแรง สเปนส่งทหารเข้ามาดูแลเรื่องการควบคุม
จํานวนมหาศาลและกระตุน้ ให้เศรษฐกิจกลับมาขยายตัว อีกครัง้ ส่งผลให้
การจราจรทางอากาศตัง้ แต่เมื่อ วาน รวมทัง้ ออกมาขู่เจ้าหน้ าที่ควบคุม
แรงงานหลายพัน คนมารวมตัว ประท้ ว งที่ห น้ า อาคารรัฐ สภา พร้อ ม
การบิน ที่ผ ละงานประท้ว งว่า อาจจะต้ อ งเจอโทษ ถึง ติด คุก ในความ
ประกาศว่าจะชุมนุมครัง้ ใหญ่ในวันที่ 15 ธันวาคม
พยายามอย่างเร่งด่วน เพื่อนํ าเครื่องบินกลับขึน้ มาบินเหนือน่ านฟ้า และ
ั หาผู้โ ดยสารจํ า นวน
เคลี ย ร์ ส นามบิ น ต่ า งๆ ที่ ส ับ สนวุ่ น วายจากป ญ รัฐ บาลกรีซ ตัว แทนจากสหภาพยุ โ รป และกองทุ น การเงิน ระหว่ า ง
มหาศาลตกค้า ง และหลังการประกาศไม่ก่ีช ั ่วโมงระหว่างการประชุ ม ประเทศ (ไอเอ็ม เอฟ) ซึ่งเป็ นผู้ใ ห้ความช่วยเหลือ ด้านการเงินกับกรีซ
ฉุ กเฉินของคณะรัฐมนตรีสเปน กลุ่มผู้ท่ผี ละงานก็เริม่ กลับเข้ามาทํางาน กล่าวว่า มาตรการรัดเข็ม ขัดเป็ นสิ่งจําเป็ นสํา หรับเศรษฐกิจประเทศที่
แต่กเ็ ชื่อกันว่ายังจะต้องใช้เวลาอีกมากถึง 2 วันกว่าที่การบินจะกดลับเข้า กําลังซบเซา อย่างไรก็ดี กลุ่มผูช้ ุมนุมยืนยันว่ามีหนทางอื่นที่ดกี ว่าการลด
สูภ่ าวะปกติ เงินเดือนและการขึ้นค่า ตั ๋วโดยสารสาธารณะสูงสุด 50% ในช่วงหลาย
เดือ นต่ อ จากนี้ เนื่ อ งจากประชาชนที่ม ีรายได้น้ อ ยไม่ส ามารถแบกรับ
ปจั จุบนั ยูโรคอนโทรล องค์กรควบคุม การจราจรทางอากาศของยุโรป
ค่าใช้จ่ายดังกล่าวได้ สํานักงานสถิติแห่งชาติของกรีซประกาศว่า อัตรา
อนุ ญาตให้เครื่องบินบินเข้าออกสเปนได้ แล้ว หลังการจราจรในเขตน่ าน
เงินเฟ้อ ของประเทศอยู่ท่ี 4.9% ในเดือ นพฤศจิกายน ซึ่งตํ่ากว่าระดับ
ฟ้าสเปนมีปญั หาจากการผละงานตัง้ แต่วนั ศุกร์ ทําให้แผนการเดินทาง
5.7% ในเดือนกันยายน (ซึ่งเป็ นระดับสูงสุดเป็ นประวัตกิ ารณ์นับตัง้ แต่ปี
หยุดพักผ่อ นยาวช่วงสุดสัปดาห์ของผู้คนราว 3 แสนต้องพัง สนามบิน
2540) และระดับ 5.2% ในเดือนตุลาคม ถึงกระนัน้ ก็ยงั เป็ นระดับสูงสุดใน
หลายแห่งแทบไม่มที จ่ี ะยืน และหลายคนก็พากันหลับนอนตามที่ต่างๆใน
บรรดากลุ่มประเทศยูโรโซน เจ้าหน้าทีร่ ฐั และนักวิเคราะห์อสิ ระในประเทศ
สนามบินเท่าที่พอจะหาได้ เจ้าหน้าที่ควบคุมการจราจรทางอากาศสเปน
เชื่อว่าอัตราเงินเฟ้อปรับ ตัวสูงขึน้ เนื่องจากการขึน้ ภาษีหลายครัง้ ในช่วง
ซึง่ มีอยูร่ าว 2 พัน 300 คน ผละงานประท้วงจากปญั หาพิพาทที่ดําเนินมา
2-3 เดือ นที่ผ่า นมา แต่ค าดว่าสถานการณ์ จ ะเปลี่ย นไปเมื่อ เศรษฐกิจ
ยาวนานกับรัฐบาล ทัง้ ในเรื่อ งสภาพการทํ างาน ตารางการทํางานและ
กลับมาขยายตัวอีกครัง้ สํานักข่าวซินหัวรายงาน
ผลประโยชน์ต่างๆ
คนงานบังกลาเทศปะทะตารวจ มีผ้เู สียชีวิต 3 คน
พนักงานระบบขนส่ งกรีซรวมตัวประท้ วงมาตรการรัดเข็มขัดของ
รัฐบาลอีกระลอก 13 ธ.ค. 53 - คนงานโรงงานเสื้อผ้าชุมนุ มในบังกลาเทศประท้วงขอขึ้น
ค่าแรงและปะทะกับตํารวจ ทําให้คนงานเสียชี วติ 3 คน และบาดเจ็บอีก
9 พ.ย. 53 - พนักงานระบบขนส่งสาธารณะในกรีซรวมตัวประท้วงต่อต้าน
กว่า 250 คน ตํารวจยิงแก๊สนํ้ าตาและกระสุนยางเข้าใส่คนงานหลายพัน
มาตรการรัด เข็ม ขัด ของ รัฐ บาลอีก ครัง้ เป็ น เวลา 24 ชั ่วโมง ส่งผลให้
คนที่ทุ บทํ าลายโรงงานและรถ ยนต์ใ นย่านการค้าของเมือ งจิตตะกอง
การจราจรในกรุง เอเธนส์ติดขัดนานหลายชั ่วโมง ขณะที่ผู้โดยสารทั ่ว
รวมถึงมีการทุ บตีกลุ่ม ผู้ประท้วงด้วยไม้กระบอง ทํ าให้ม ีคนงาน 3 คน
ประเทศไม่สามารถใช้บริการรถไฟได้ การระงับให้บริการรถเมล์ รถไฟใต้
เสียชีวติ และมีผไู้ ด้รบั บาดเจ็บมากกว่า 250 คน
ดิน และรถไฟ ทําให้ประชาชนหลายล้านคนในกรุงเอเธนส์ต้องไปทํางาน

2 << คนทำงำน ธันวำคม 2553


ผลสารวจชี้ชาวญี่ปนใช้ ุ่ เวลารอเกือบ 6 เดือนจึงจะได้งานใหม่ ทุก ๆ 6 เดือน และเธอก็ไม่สามารถไปร้องเรียนต่อทางการได้ เนื่องจาก
ถูกบริษทั งานจัดหางานยึดหนังสือเดินทางเอาไว้ ด้านสหภาพคนงานจึง
27 ธ.ค. 53 - บรรษัทกระจายเสียงของญี่ปุ่น หรือเอ็นเอชเค รายงานว่า
คาดหวังว่ารัฐบาลฮ่ อ งกงจะเพิ่ม ความเข้ม งวดในการตรวจสอบบริษ ัท
ผลการสํารวจของสํานักจัดหางานบ่งชี้ว่าชาวญี่ปุ่นที่เปลี่ยนงานจะต้องใช้
จัดหางานและนําตัวผูก้ ระทําผิดมาลงโทษ
เวลา เฉลี่ย 5.7 เดือนจึงจะได้งานใหม่ ซึ่งเป็ นการรอคอยที่ใช้เวลานาน
ที่สุดตัง้ แต่เริม่ มีการสํารวจเมื่อ 2 ปี ท่แี ล้ว ผลการสํารวจรายไตรมาส ซึ่ง ปั ก กิ่ ง ประกาศปรับ ขึ้น ค่ า แรง ขัน้ ต่า เฉพาะในเมื อ งหลวงอี ก 20
ใช้ข้อ มูลจากกลุ่ม ตัวอย่าง 2,000-3,000 คนที่ได้งานใหม่พบว่า ในไตร เปอร์เซ็นต์
มาสเดือนกรกฎาคมถึงกันยายนที่ผ่านมา ชาวญี่ป่นุ จะใช้เวลาเฉลี่ย 5.7
28 พ.ย. 53 - รัฐบาลปกั กิง่ เผยแถลงการณ์ผ่านเว็บไซต์เมื่อวันอังคารระบุ
เดือน จึงจะได้งานใหม่เพิม่ ขึน้ จากการสํารวจในช่วงเวลาเดียวกันของปี ท่ี
“ค่าแรงขัน้ ตํ่าต่อเดือนในปกั กิง่ จะเพิม่ จาก 960 หยวนเป็ น 1,160 หยวน
แล้ว 3 สัปดาห์ และนับเป็ นการใช้เวลารอคอยงานใหม่นานที่สุดเท่าที่เคย
ตัง้ แต่ปีใหม่น้ีเป็ นต้นไป” ซึง่ ก่อนหน้านี้ (ก.ค.) ปกั กิง่ ได้ปรับขึน้ ค่าแรงขัน้
สํารวจ
ตํ่า 20 เปอร์เซ็นต์ข้นึ มาเป็ น 960 หยวน ท่ามกลางสภาวะตึงเครียดอัน
ผลสํารวจพบด้วยว่า ชาวญี่ปุ่นร้อยละ 12.9 ใช้เวลากว่า 1 ปี จงึ จะได้งาน เกิดจากความไม่พอใจของแรงงาน ผนวกกับมีเหตุการณ์แรงงานกระทํา
ใหม่ เพิม่ ขึ้นจากการสํารวจครัง้ ที่แล้วร้อยละ 5 ส่วนสาเหตุท่เี ปลี่ยนงาน อัตวินิบาตกรรมเป็ นจํานวนมาก อาทิ บริษทั ฟ็ อกซ์คอนน์ ที่ปีน้ีมแี รงงาน
พบว่าร้อยละ 48.3 ตอบว่าวิตกกังวลอนาคตของบริษทั ที่ทํางานอยู่ ส่วน อัตวินิบาตกรรมถึง 12 คน ทําให้บริษทั ฯ ต้องขึ้นค่าแรงกระฉู ด ทัง้ หมด
ร้อ ยละ 24 กล่าวว่าไม่พอใจค่าตอบแทน และร้อยละ 19.6 ถูกนายจ้าง นี้ทําให้รฐั บาลจีนพิจารณาขึน้ ค่าแรงอีกรอบ ท่ามกลางปญั หาเงินเฟ้อ ซึ่ง
กดดันให้ลาออกเนื่องจากบริษทั ล้มละลายหรือมีการปรับโครงสร้าง พุง่ สูงสุดในรอบสองปี แตะระดับ 5.1 เปอร์เซ็นต์ กอปรกับราคาอาหารพุ่ง
สูงขึน้ เกือบ 12 เปอร์เซ็นต์ปีต่อปี ซํ้าร้ายราคาอสังหาริมทรัพย์ก็ท้าทาย
ศาสตราจารย์นาโอฮิโร ยาชิโร จากมหาวิทยาลัยคริสเตียนนานาชาติ ซึ่ง
ความสามารถของรัฐ บาลอย่า งหนักหน่ วง ให้ต้อ งเร่ง หามาตรการลด
เป็ นผู้เชี่ยวชาญเศรษฐศาสตร์แรงงาน กล่าวว่า บริษทั หลายแห่งมี ความ
ความร้อนแรงในตลาดอสังหาฯให้ได้
ระมัด ระวัง ในการจ้า งผู้ท่ีเ ปลี่ย นงานและนั ก ศึก ษาจบใหม่ เนื่ อ งจาก
เศรษฐกิจ ซบเซา บริษ ัท ได้ค ดั เลือ กแรงงานอย่า งระมัด ระวัง จึง ทํ า ให้ เมื่อวันเสาร์ (25 ธ.ค.) ธนาคารกลางจีนประกาศขึ้นอัตราดอกเบี้ยครัง้ ที่
ยากลําบากขึน้ ทีจ่ ะได้งาน ใหม่ สอง เพื่อปราบเงินเฟ้อครัง้ ประวัตกิ ารณ์ ตามติดด้วยประกาศขึน้ ดอกเบี้ย
เงิน กู้ซ้ือ บ้า นป้ องกัน ฟองสบู่ แ ตก นายกฯ เวิน จยาเป่า แถลงสํ า ทับ
เหตุปะทะกันดังกล่าวเกิดขึ้นกับบริษทั ของเกาหลีใต้ซ่ึงทํ าให้ต้อ งระงับ
“รัฐบาลจะสามารถคุมเงินเฟ้อ และกระแสเก็งกําไรในตลาดอสังหาฯได้อยู่
การ ปฏิบตั งิ านในโรงงานเสือ้ ผ้า 13 แห่ง เมื่อคํ่าวันเสาร์ ภายหลังคนงาน
หมัดแน่นอน”
ก่อเหตุทุบทําลายอุปกรณ์เครื่องใช้ในโรงงาน เพื่อประท้วงเรียกร้องขอขึน้
ค่ า แรง สํ า หรับ นิ ค มอุ ต สาหกรรมในบัง กลาเทศเป็ น ที่ต ัง้ ของบริษ ัท โบลิ เวียนัดสไตรค์ต้านรัฐเลิ กอุ้มน้ามัน
ต่างชาติราว 70 แห่ง ส่วนใหญ่เป็ นผูป้ ระกอบการด้านสิง่ ทอ รองเท้า และ
28 ธ.ค. 53 - สหพันธ์คนขับรถรับจ้างแห่งโบลิเวียเป็ นสหภาพแรงงาน
จักรยาน. - สํานักข่าวไทย
แห่งแรกที่ประกาศนัดหยุดงานอย่างไม่มกี ําหนดเริม่ แต่วนั จันทร์เป็ นต้น
แรงงานอิ นโดนี เซียในฮ่องกงร้องถูกนายจ้างเอาเปรียบ มา เพื่อประท้วงนโยบายของรัฐบาลประธานาธิบดีเอโบ โมราเลส ที่เลิก
อุดหนุ ดราคานํ้ ามันเบนซินและดีเซล ซึ่งทําให้ราคาเบนซินออกเทนตํ่า
27 ธ.ค. 53 - แรงงานชาวอิน โดนี เ ซีย จํา นวนมากที่เ ข้า มาทํ า งานใน
ปรับเพิม่ ขึน้ 73% ส่วนดีเซลเพิม่ ถึง 83% รองประธานาธิบดีอลั บาโร การ์
ฮ่องกง ประสบปญั หาถูกนายจ้างเอาเปรียบ สหภาพแรงงานอพยพชาว
เซีย ลีเญรา อ้างในคําแถลงเมื่อวันอาทิตย์วา่ รัฐบาลไม่อาจอุ้มราคานํ้ ามัน
อินโดนีเซีย ระบุวา่ มีแรงงานชาวอินโดนีเซีย ทีเ่ ข้ามาทํางานเป็ นคนรับใช้
ที่ใช้งบปี ละ 380 ล้านดอลลาร์ (11,400 ล้านบาท) ได้อกี ต่อไปแล้ว และ
ตามบ้านในฮ่องกงกว่า 1 แสนคน แต่ในช่วงสองปี ท่ผี ่านมา ได้รบั เรื่อ ง
คาดว่ามาตรการนี้ จะกระตุ้นให้บริษทั พลังงานผลิตนํ้ ามันมากขึ้น และ
ร้องเรียนจากแรงงานเหล่านี้ถงึ 628 ครัง้ ว่าถูกนายจ้างเอารัดเอาเปรียบ
นํ าเข้า ดีเซลและเบนซินเองเพิ่ม ขึ้น รัฐบาลยังประกาศจะขึ้นเงินเดือ น
ทัง้ การกดราคาค่าแรง และการใช้งานหนักเกินไป หญิงรับใช้วยั 28 ปี คน
ลูกจ้างภาครัฐให้สูงกว่าอัตราเงินเฟ้อ และพักการชําระค่าสาธารณู ปโภค
หนึ่ง เล่าว่าเธอเคยถูกนายจ้างรายแรกเอาเปรียบ โดยถูกบังคับให้ทํางาน
ของประชาชนด้ว ย ทัง้ รับ ปากว่ า จะไม่ ข้ึน ราคาก๊ า ซธรรมชาติท่ีเ ป็ น
ภายในบ้านมากกว่า 1 หลัง ขณะที่มวี นั หยุดงานเพียงวันเดียวเท่านัน้ ใน
เชือ้ เพลิงรถยนต์และเชือ้ เพลิงหุงต้ม.

คนทำงำน ธันวำคม 2553 >> 3


รายงานพิเศษ >>

สถานการเจรจาข้อเรียกร้อง
ปี 2553

“ตั้ ง แต่ เ ดื อ น ต.ค. 2552 ถึ ง 30 พ.ย. 2553 พบว่ า มี ส ถาน


ประกอบการแจ้งขอเปลี่ยนแปลงสภาพการจ้างงาน 322 แห่ง มี
ลูกจ้างเกี่ยวข้องประมาณ 2.8 แสนคน โดยเกิดปัญหาข้อพิพาท 78
แห่ง มีลูกจ้างที่เกี่ยวข้องประมาณ 5.2 หมื่นคน”

4 << คนทำงำน ธันวำคม 2553


ปี 2553 แรงงานยื่นข้อเรียกร้อง 322 แห่ง พิ พาทแรงงาน 78 แห่ง

นางอัมพร นิ ติสิริ อธิ บดีกรมสวัสดิ การและคุม้ ครองแรงงาน เปิ ดเผยว่า จากข้อมูลด้านแรงงานสัมพันธ์ตงั ้ แต่เดือน ต.ค. 2552-30
พ.ย. 2553 พบว่ามีสถานประกอบการแจ้งขอเปลีย่ นแปลงสภาพการจ้างงาน 322 แห่ง มีลกู จ้างเกีย่ วข้องประมาณ 2.8 แสนคน โดยเกิด
ปญั หาข้อพิพาท 78 แห่ง มีลกู จ้างทีเ่ กีย่ วข้องประมาณ 5.2 หมืน่ คน

ทัง้ นี้มกี ารชุมนุมเรียกร้อง 132 ครัง้ มีลกู จ้างทีเ่ กีย่ วข้องประมาณ 135,000 คน ซึง่ คิดเป็ นมูลค่าความเสียหายทางเศรษฐกิจ 11,885 ล้าน
บาท ซึง่ สาเหตุสว่ นใหญ่เกิดจากการเรียกร้องเรื่องการขอโบนัส และการขอขึน้ เงินเดือน


อย่างไรก็ตาม ตนมองว่าปญหาด้ านแรงงานสัมพันธ์ เป็ นไปในทิศทางทีด่ ขี น้ึ แม้ว่าตัวเลขจะไม่ได้ลดลงจากปี ทแ่ี ล้ว แต่การนัดหยุดงาน
ปิ ดโรงงานหรือปิ ดถนนลดลงอย่างเห็นได้ชดั

ด้านนายสุวิทย์ สุมาลา ผูอ้ านวยการสานักแรงงานสัมพันธ์ กรมสวัสดิ การและคุม้ ครองแรงงาน กล่าวว่า ทีผ่ ่านมา มีการประท้วง
หยุดงาน และความไม่ลงรอยกันระหว่างนายจ้างและลูกจ้างเยอะ เกิดจากการปิ ดบังข้อมูลของแต่ละฝา่ ย

นอกจากนี้ นายจ้างบางส่วนยังมักจะแสดงอํานาจว่าอยู่เหนือ ทําให้ไม่สามารถจัดการความขัดแย้งได้ กระบวนการแรงงานสัมพันธ์โดย


สุจริตใจต้องปรับใหม่ ให้เกิดขึน้ บนพืน้ ฐานของความไว้เนื้อเชื่อใจกันทัง้ สองฝา่ ย

"หลักการสําคัญของแรงงานสัมพันธ์ โดยสุจริตใจ ก็คอื การรับฟงั กันทัง้ สองฝา่ ย ซึง่ ต้องร่วมกันคิดว่าเมื่อมีปญหาแล้


ั วทําอย่างไรให้เกิด
ความเสียหายน้อยที่ สุด โดยนายจ้างต้องทํางานเชิงรุกอยู่เสมอ เพื่อให้ขอ้ มูลและทําให้ลกู จ้างเข้าใจถึงสถานการณ์ต่างๆ โดยทางลูกจ้างก็
ต้องรับฟงั ด้วย" นายสุวทิ ย์กล่าว

ขณะที่ นายจงรัก สุพลจิ ตต์ ประธานสหภาพแรงงานสายไฟฟ้ าไทย-ยาซากิ กล่าวว่า หลักการเสริมสร้างแรงงานสัมพันธ์โดยสุจริตใจ


นับว่าเป็ นเรื่องดี และควรสนับสนุนให้เกิดในสถานประกอบการทุกแห่ง เพราะทีผ่ ่านมา นายจ้างมักจะอาศัยข้อกฎหมายเพื่อหักล้าง
ความชอบธรรมของฝา่ ยลูกจ้าง และมักจะข่มขูด่ ว้ ยกฎระเบียบต่างๆ อยู่เสมอ

ซึง่ สถานประกอบการของตนเคยมี ประสบการณ์หยุดงานต่อเนื่องนานถึง 19 วัน จนสุดท้าย ก็มองว่าถ้าหยุดอย่างนี้คงไม่ได้ประโยชน์


อะไร จึงเดินทางไปเปิ ดอกคุยกับนายจ้างอย่างตรงไปตรงมา เพือ่ ให้ได้ขอ้ ตกลงทีเ่ ป็ นธรรมทัง้ 2 ฝา่ ย

"ฝา่ ยนายจ้างต้องรับฟงั ลูกจ้าง อย่างตรงไปตรงมา และถ้าเป็ นไปได้อยากให้เป็ นการสือ่ สารโดยตรงระหว่างลูกจ้างและนายจ้าง ไม่ตอ้ งผ่าน
เลขาฯ หรือสือ่ กลางอื่นๆ เพราะจะทําให้ขอ้ ตกลงทีต่ อ้ งการจะสือ่ ผิดเพีย้ นไป ซึง่ หากมีนายจ้างทีร่ บั ฟงั โดยตรงก็เชื่อว่าจะเป็ นจุดเริม่ ต้น
ของกระบวนการ แรงงานสัมพันธ์ทล่ี งตัวกันทุกฝา่ ย" นายจงรักกล่าว

ขณะที่ น.ส.วิ ไลวรรณ แซ่เตีย ประธาน คสรท.กล่าวว่า จากนี้ไปการปรับขึน้ ค่าจ้างควรปรับให้เป็ นธรรมกับคนงานมากขึน้ โดย
กําหนดให้เป็ นกฎหมายบังคับให้นายจ้างจ่ายค่าจ้าง ทีต่ อ้ งคํานึงถึงประสบการณ์ อายุงาน และฝีมอื ในการทํางาน เนื่องจากทีผ่ ่านมา สถาน
ประกอบการกว่าสีแ่ สนแห่งทัวประเทศมี
่ สถานประกอบการ ส่วนใหญ่สถานประกอบการทีม่ อี าํ นาจในการต่อรองจะเป็ นขนาดใหญ่และทีม่ ี
สหภาพแรง งานเท่านัน้ อีกทัง้ ควรมีการปรับโครงสร้างคณะทํางานทีจ่ ะมาคิดค่าจ้างโดยมีตวั แทนสามฝา่ ย จากนายจ้าง ลูกจ้าง ภาครัฐที่
จะเสนอให้มที ศิ ทางก่อนการปรับขึน้ ค่าจ้าง

คนทำงำน ธันวำคม 2553 >> 5


สถานการณ์การยื่นข้อเรียกร้องที่น่าสนใจในช่วงปลายปี 2553

ในช่วงเดือนธันวาคม 2553 สหภาพแรงงานเอกชนจดทะเบียน แห่งประเทศไทย ประกาศเริม่ ปิดงานตัง้ แต่วนั ที่ 22 พ.ย. เวลา
ทัง้ หมด 1,270 แห่ง มีก ารแจ้งข้อเรียกร้องระหว่ างวันที่ 1-25 07.00 น. เป็ นต้นไปจนกว่าบริษทั ฯ และสหภาพแรงงานจะสามารถ
พฤศจิกายน 2553 จํานวน 138 แห่ง ข้อเรียกร้องยุตแิ ล้ว 57 แห่ง บรรลุขอ้ ตกลงร่วมกันในการแก้ไขเปลีย่ นแปลงข้อตกลง สภาพการ
ยังไม่ยุตจิ าํ นวน 81 แห่ง มีการแจ้งข้อพิพาทแรงงาน 27 แห่ง ไกล่ จ้างได้
เกลีย่ ยุตแิ ล้ว 15 แห่ง ยังไม่ยุติ 12 แห่ง ทัง้ นี้ขอ้ เรียกร้องส่วนใหญ่
โดยบริษทั ฯ ระบุว่าเนื่องจากสหภาพแรงงานทัง้ สองแห่งใช้
เป็ นการปรับค่า จ้างประจําปี ตงั ้ แต่ อตั ราร้อยละ 2-8 และขอให้
มาตรการนัดหยุดงานดังกล่าวเมือ่ วันที่ 18 พ.ย. 53 ทางบริษทั ฯ
นายจ้างจ่า ยโบนัสตัง้ แต่ 1-6 เดือ น บวกเงิน เพิ่ม พิเ ศษตัง้ แต่
จึงมีความจําเป็ นจะต้องใช้สทิ ธิปิดงานต่อสมาชิกของสหภาพ
2,000-40,000 บาท และมีอายุขอ้ ตกลงสภาพการจ้าง 2-3 ปี และ
แรงงานทัง้ สอง ทัง้ นี้บริษทั ฯจะเริม่ ปิ ดงานตัง้ แต่วนั ที่ 22 พ.ย. 53
จากข้อยุติท่ที งั ้ นายจ้างและสหภาพแรงงานทําสัญญากันจํานวน
เวลา 07.00 น. เป็ นต้นไปจนกว่าบริษทั ฯและสหภาพแรงงานทัง้
62 แห่ง ทําให้ลกู จ้างได้รบั สิทธิประโยชน์เพิม่ ขึน้ 3,492 ล้านบาท
สองจะสามารถบรรลุขอ้ ตกลงร่วมกันใน การแก้ไขเปลีย่ นแปลง
จํานวนลูกจ้างทีเ่ กีย่ วข้องเกือบ 6 หมื่นคน
ข้อตกลงสภาพการจ้างได้
โดยในช่วงปลายปี ทผ่ี ่านมา มีกรณีศกึ ษาของสหภาพแรงงานและ
เมื่อวันที่ 30 พ.ย. 53 เวลา 10.00 น ทีส่ าํ นักงานสวัสดิการและ
สถานประกอบการณ์ทม่ี กี ารยื่นข้อเรียกร้องเปลีย่ นแปลงสภาพการ
คุม้ ครองแรงงาน จ.ปทุมธานี พนักงานประนอมข้อพิพาทแรงงาน
จ้างทีน่ ่าสนใจดังนี้ …
ได้เปิ ดประชุมไกล่เกลีย่ ข้อพิพาทแรงงานตามข้อ เรียกร้อง ของ
บทสรุปการเจรจาข้อเรียกร้อง “สหภาพคนทายาง- สหภาพแรงงานคนทํายางแห่งประเทศไทยและสหภาพแรงงาน
บ.กูด๊ เยียร์” ปี 2553 ผูบ้ งั คับบัญชาพนักงาน กู๊ดเยียร์ประเทศไทย กับ บริษทั กู๊ดเยียร์
ั่
(ประเทศไทย) จํากัด (มหาชน) โดยตัวแทนฝงสหภาพแรงงานฯ
ได้แก่นายอรรคพล ทองดีเลิศ ผูแ้ ทนสหภาพแรงงานคนทํายางฯ
และนายมนัส อินกลัด ผูแ้ ทนสหภาพแรงงานผูบ้ งั คับบัญชาฯ
ส่วนตัวแทนบริษทั กู๊ดเยียร์ คือ Ms. Wendy Radtke (Asia Pacific
HR Director ของบริษทั กู๊ดเยียร์) ซึง่ ได้บนั ทึกข้อตกลงเกีย่ วกับ
สภาพการจ้างระยะเวลา 2 ปี ผลมีตงั ้ แต่ปี 2553 จนถึง 2554 โดย
ได้ผลสรุปข้อยุตดิ งั นี้

1. บริษทั ฯเสนอขยายขีดขัน้ ให้ 2 ขีดขัน้ ให้พนักงานรายชัวโมง


2. บริษทั ฯ เสนอขยายชัวโมงร่
่ วมกิจกรรมของอนุกรรมการจาก 8
หลังจากทีส่ หภาพแรงงานคนทํายางแห่ง ประเทศไทยและสหภาพ
ชัวโมงเป็
่ น 32ชัวโมง

แรงงานผูบ้ งั คับบัญชาพนักงานกู๊ดเยียร์ประเทศไทย ได้ย่นื ข้อ
เรียกร้องเปลีย่ นแปลงสภาพการจ้าง (ประจําปี 2553) กับ บริษทั 3. บริษทั ฯ เสนอมอบคอมพิวเตอร์พกพา 2 ชุด เครื่องพิมพ์ตงั ้ โต๊ะ
กู๊ดเยียร์ (ประเทศไทย) จํากัด (มหาชน) ตัง้ แต่เดือนกรกฎาคมที่ 1 ชุดเครื่องฉาย LCD1 ชุดเพื่อใช้ในการฝึกอบรม
ผ่านมา (13 ก.ค. 53) โดยมีการเจรจากันมา 5 เดือนแต่ยงั ไม่
4. บริษทั ฯ เสนอเงินสนับสนุนกิจกรรมทีไ่ ด้รบั การอนุมตั จิ าก
สามารถหาข้อยุตไิ ด้
บริษทั ของสหภาพ 130,000 บาทต่อปี
จากนัน้ ในวันที่ 22 พ.ย. 53 บริษทั กู๊ดเยียร์ (ประเทศไทย) จํากัด
5. บริษทั ฯ เสนอเงินกูฉ้ ุกเฉิน 3,500,000 บาท กูไ้ ด้ 1 เดือน
(มหาชน) ทําหนังสือแจ้ง กรรมการและผูจ้ ดั การ ตลาดหลักทรัพย์
วงเงินไม่เกิน 15,000 บาทต่อคน
6 << คนทำงำน ธันวำคม 2553
6. บริษทั ฯ เสนอปรับปรุงคุณภาพของชุดพนักงานเพื่อให้ 7.ปรับค่าแรงลูกจ้างทีท่ าํ งานให้แก่บริษทั ครบ 24 เดือน 8.ปรับ
เหมาะสมและปลอดภัยในสถานทีท่ าํ งานของฝา่ ยผลิต ค่าจ้างประจําปี 2554 9.แก้ไขเวลาทํางาน วันละไม่เกิน 7 ชัวโมง

20 นาที 10.อนุญาตให้สหภาพฯเผยแพร่ขา่ วสารแก่สมาชิก โดยไม่
7. บริษทั ฯ เสนอให้เงินสมนาคุณจํานวน 7,000 บาทครัง้ เดียว
ถูกแทรกแซง 11.จ่ายเงินค่าความเสีย่ งแก่พนักงานบางกลุม่ 12.
รวมกับข้อเรียกร้องเก่าอีก 6,200 บาทรวมเป็ น 13,200 บาท ปี
จ่ายเงินช่วยเหลือพนักงาน หากบิดามารดา สามี ภรรยา และบุตร
2553 กําหนดจ่ายวันที่ 11 มกราคม 2554 และปี 2554 จ่ายเงิน
เสียชีวติ รายละ 10,000 บาท 13.จัดสวัสดิการประกันสุขภาพให้แก่
สมนาคุณ 8,000 บาท ครัง้ เดียว รวมกับข้อเรียกร้องเก่าอีก 6,200
พนักงาน
บาท รวมเป็ น 14,200 บาท กําหนดจ่ายวันที่ 11 มกราคม 2555
ทัง้ นี้ทผ่ี ่านมามีการเจรจาร่วมกันภายในจํานวน 5 ครัง้ แต่ไม่
8. คู่สญ
ั ญาตกลงยกเลิกความในข้อ 8 เรื่อง ข้อตกลงเกีย่ วกับ
สามารถตกลงกันได้ และฝา่ ยนายจ้างไม่นดั ให้มกี ารเจรจาครัง้ ที่ 6
สภาพการจ้าง อนุสองในหนังสือรวมคูม่ อื พนักงาน โดยให้ตดั
สหภาพแรงงานจึงแจ้งเป็ นข้อพิพาทแรงงานทีต่ กลงกันไม่ได้ เมือ่
ข้อความคําว่า “และข้อบังคับเกีย่ วกับการทํางาน” ออกเสีย
กลางเดือนธ.ค.ทีผ่ ่านมา พร้อมแจ้งให้พนักงานประนอมข้อพิพาท
9. คู่สญั ญาตกลงให้การกระทําดังต่อไปนี้เป็ นความผิดทางวินยั แรงงานช่วยดําเนินการไกล่เกลีย่ เพื่อหาข้อยุตริ ่วมกัน และในขณะนี้
กรณีรา้ ยแรง นายจ้างมีสทิ ธิจา้ งได้โดยไม่จ่ายค่าชดเชย และไม่ตอ้ ง (ปลายเดือนธันวาคม 2553) ยังไม่สามารถหาข้อยุตไิ ด้
เตือนเป็ นหนังสือก่อน คือ การพนัน การทะเลาะวิวาท การเสพสาร
การเจรจาข้อเรียกร้อง สหภาพแรงงานและพนักงาน
เสพติด การพกพาอาวุธหรือการดื่มสุราหรือสิง่ มึนเมา โดยจะใช้
บังคับการกระทําขึน้ หลังจากทีล่ งในสัญญาสิง่ นี้ บริ ษทั บีเอ็มดับเบิ ลยู

10. รักษาพยาบาล สหภาพแรงงานและพนักงาน บริษทั บีเอ็มดับเบิลยู ได้ย่นื ข้อ


เรียกร้องตัง้ แต่เดือนพฤศจิกายนทีผ่ ่านมา โดยมีรายละเอียดดังนี้
10.1 คนไข้นอก 800 บาท / ครัง้
ข้อเรียกร้องข้อ 1 ให้บริษทั ฯ ปรับขึน้ เงินเดือนตามผลการประเมิน
10.2 ค่าห้องวันละ 1,900 บาท
พนักงานปี พ.ศ. 2553 ดังนี้
10.3 ค่ารักษาครัง้ ละ 20,000 บาท
เกรด N = 6 %
11. เงินช่วยเหลือพนักงานทีเ่ กษียณอายุ
เกรด M = 8 %
ก. มีอายุงาน 30 ปี เงินช่วยเหลือ 120 วัน
เกรด ER = 10 %
ข. มีอายุงาน 35 ปี เงินช่วยเหลือ 150 วัน
และปรับฐานเงินเดือนทุกระดับชัน้ สําหรับพนักงานทีเ่ ป็ นสมาชิก
การเจรจาข้อเรียกร้อง สหภาพแรงงานฟูจิตสึ สหภาพแรงงานบีเอ็มดับเบิลยู ประเทศไทย จํานวน 1,000 บาท

เจเนอรัล(ประเทศไทย) จากัด ข้อเรียกร้องที่ 2 ให้บริษทั จ่ายโบนัส "P" ให้กบั พนักงานและซัพ


คอนแทรคตามการประเมินผลในปี 2553 โดยจ่ายในรอบบัญชี
สหภาพแรงงานฟูจติ สึ เจเนอรัล(ประเทศไทย) จํากัดข้อเรียกร้องมี
เดือนเมษายน 2554 ดังนี้
ทัง้ สิน้ 13 ข้อ ประกอบด้วย 1.ให้บริษทั จ่ายเงินโบนัส4.5 เท่าของ
ฐานเงินเดือน บวก 12,000 บาท พร้อมเพิม่ เงินพิเศษแก่สมาชิก เกรด N = 4 เดือน
สหภาพฯอีกคนละ 15,000 บาท 2.เพิม่ เงินกองทุนสํารองเลีย้ งชีพ
เกรด M = 4.5 เดือน
10%3.ขอให้บริษทั สนับสนุ นกิจกรรมของสหภาพฯ 4.เพิม่ ค่าครอง
ชีพให้แก่สมาชิกสหภาพฯ 800 บาทต่อเดือน 5.ถอนคําเลิกจ้าง เกรด ER = 5 เดือน
คณะกรรมการ นายวัลลภ จันเพชร ่ 6.หักเงินค่าจ้างสมาชิกสหภาพ
ฯ เพื่อเป็ นค่าบํารุงผ่านธนาคาร
คนทำงำน ธันวำคม 2553 >> 7
และเงินเพิม่ พิเศษสําหรับพนักงานทีเ่ ป็ นสมาชิกสหภาพแรงงาน ข้อเรียกร้องที่ 8 ให้บริษทั ฯ จ่ายค่าเล่าเรียนบุตรจากเดิม 25 ทุน ที่
บีเอ็มดับเบิลยู ประเทศไทย จํานวน 40,000 บาท ทุกระดับเกรด ฐานเงินเดือนพนักงานไม่เกิน 18,000 บาท เปลีย่ นเป้นจ่ายตาม
การประเมิน จริงทีพ่ นักงานยื่นขอรับทุนโดยไม่กาํ หนดฐานเงินเดือนของ
พนักงาน
เกรด M = 1.5 เดือน + 15,000 บาท
ข้อเรียกร้องที่ 9 ให้บริษทั ฯ เพิม่ วงเงินในบัตรประกันกลุ่มให้อยูใ่ น
ข้อเรียกร้องที่ 3 ให้บริษทั ฯ จ่ายเงินเพิม่ พิเศษ โบนัส "U" จาก
แผนเดียวกันและให้เพิม่ บัตรเสริมอีก 1 ใบ
โบนัสบอร์ด ปี พ.ศ.2553 สําหรับพนักงานทีเ่ ป็ นสมาชิกสหภาพ
แรงงานบีเอ็มดับเบิลยู ประเทศไทย จํานวน 20,000 บาท โดยจ่าย ข้อเรียกร้องที่ 10 ให้บริษทั ฯ จ่ายค่านําเทีย่ วให้กบั พนักงานประจํา
ในรอบบัญชีเดือนพฤษภาคม พ.ศ.2554 และพนักงานชัวคราว่ (ซัพคอนแทรค) คนละ 1,500 บาทต่อปี เป้น
ประจําทุกปี
ข้อเรียกร้องที่ 4 ให้บริษทั ฯ หักเงินสะสมและจ่ายเงินสมทบกองทุน
สํารองเลีย้ งชีพจากเดิม ข้อเรียกร้องที่ 11 ให้บริษทั ฯ เปลีย่ นวิธคี าํ นวณคิดโอที จากเดิม
เงินเดือนหาร 30 วัน หารด้วย 8.5 ชัวโมง ่ คูฯด้วย 1.5 แรง และ
ระดับ Senior Director อัตราเงินสะสม 10 % ของค่าจ้าง
คูณจํานวนชัวโมงที
่ ท่ าํ โอที เปลีย่ นเป็ นเงินเดือนหาร 28 วัน หาร
ระดับ Director อัตราเงินสะสม 7.5 % ของค่าจ้าง ด้วย 8.5 ชัวโมง
่ คูณด้วย 1.5 แรง และคูณด้วยจํานวนชัวโมงที ่ ท่ าํ
โอที และโอทีวนั เสาร์ทาํ งานปกติให้บริษทั ฯ จ่ายค่าแรงเพิม่ 1 แรง
ระดับ ผูจ้ ดั การ-ผูจ้ ดั การอาวุโส อัตราเงินสะสม 7.5 % ของค่าจ้าง
เป็ น 1.5 แรง
ระดับ ปฏิบตั งิ านในสํานักงาน อัตราเงินสะสม 5 % ของค่าจ้าง
ข้อเรียกร้องที่ 12 ให้บริษทั ฯ สนับสนุนกิจกรรมด้านกีฬาและ
ระดับ ปฏิบตั งิ านในโรงงาน อัตราเงินสะสม 5 % ของค่าจ้าง กิจกรรมเพื่อสังคมของสหภาพแรงงานฯ โดยให้บริษทั ฯ สนับสนุน
เงินในด้านกีฬาของสหภาพแรงงานฯ ปี ละ 15,000 บาท
ให้บริษทั ฯ เปลีย่ นอัตราเงินสะสมและเงินสมทบเป็ นดังนี้ 5 % 7.5
% 10 % โดยให้สมาชิกกองทุนสํารองเลีย้ งชีพเลือกตามความ และให้บริษทั ฯ สนับสนุนในด้านกิจกรรมเพื่อสังคมปี ละ 100,000
สมัครใจ บาท

ข้อเรียกร้องที่ 5 ให้บริษทั จ่ายเงินค่าตําแหน่งดังนี้ ข้อเรียกร้องที่ 13 ให้บริษทั ฯ จัดห้องทํางานให้สหภาพแรงงานฯ


จากเดิมใช้ตรงบนออฟฟิศ ขอเปลีย่ นมาเป็ นห้อง OOC OOM
ซุปเปอร์ไวเซอร์ 5,000 บาท
พร้อมอุปกรณ์การทํางาน และคณะกรรมการสหภาพแรงงานฯ
ลีดเดอร์ 3,000 บาท ทํางานเต็มเวลา

ซีเนียร์ 2,100 บาท ข้อเรียกร้องที่ 14 ให้บริษทั ฯ ปรับพนักงานชัวคราว่ (ซัพคอน


แทรค) ทีท่ าํ งานเกิน 1 ปี เป็ นพนักงานประจํา และถ้าบริษทั ฯ
โอเปอร์เรเตอร์ 1,000 บาท
ต้องการพนักงานชัวคราว
่ ให้บริษทั ฯ เปิ ดรับสมัครโดยไม่ผ่าน
ข้อเรียกร้องที่ 6 ให้บริษทั ฯ จ่ายเงินช่วยเหลือ กรณีพนักงานและ บริษทั ฯ ภายนอก
ครอบครัวเสียชีวติ จากเดิม 10,000 บาท เพิม่ เป็ น 50,000 บาท
ข้อเรียกร้องที่ 15 สภาพการจ้างใดทีน่ อกเหนือจากข้อตกลงนี้ ให้
พร้อมพวงหรีด
คงสภาพเดิมไว้ เว้นแต่เปลีย่ นแปลงแล้วเป็ นคุณแก่ลกู จ้างยิง่ กว่า
ข้อเรียกร้องที่ 7 ให้บริษทั ฯ จ่ายเงินค่าความเสีย่ งตามพืน้ ทีแ่ ละการ
ล่าสุดสหภาพแรงงานและบริษทั สามารถเจรจาตกลงกันได้แล้ว (ต้น
ทํางาน คนละ 750 บาท
เดือนมกราคม 2554) แต่ยงั ไม่มกี ารเปิ ดเผยข้อตกลงสรุปทีเ่ จรจา
กันได้

8 << คนทำงำน ธันวำคม 2553


รายงานพิเศษ >>

เ ปิ ด “ศู น ย์ วั ฒ น ธ ร ร ม แ ร ง ง า น ”
สมานฉั น ท์ ข้ า มพรมแดน เราทั้ ง ผอง
ล้วนพี่น้องกัน
รายงานโดย เทวฤทธิ์ มณีฉาย

โครงการรณรงค์เพื่อแรงงานไทย ร่วมกับกลุ่มแรงงานข้ามชาติ เปิดศูนย์วัฒนธรรม


แรงงาน (บางกะปิ) เพิ่มศักยภาพในการคุ้มครองสิทธิแรงงานให้กับสมาชิก -เครือข่าย
เน้นย้าแนวความคิด “สมานฉันท์ข้ามพรมแดน เราทั้งผองล้วนพี่น้องกัน”

คนทำงำน ธันวำคม 2553 >> 9


เมื่อวันที่ 19 ธ.ค 53 ทีผ่ ่านมา โครงการรณรงค์เพื่อแรงงานไทย แบบนัน้ ถ้ามันยังทําอะไรไม่ได้เยอะ ก็ให้เราได้เรียนรูแ้ ลกเปลีย่ น
(Thai Labour Campaign: TLC) ร่วมกับกลุ่มแรงงานข้ามชาติ ได้ กันไปก่อนเรื่อยๆเพื่อนําพาไปสูก่ ารเปลีย่ น แปลง”
ร่วมกันจัดงานเปิ ดศูนย์วฒ ั นธรรมแรงงาน (บางกะปิ ) (Labour
Culture Center) ที่ ซอยนวมินทร์ 14 เขตบางกะปิ กรุงเทพฯ สุธาสินี กล่าวถึงภาระกิจของโครงการรณรงค์เพื่อแรงงานไทยฐานะ
กิจกรรมภายในงานเป็ นไปอย่างเป็ นกันเอง เริม่ จากการเยีย่ มชม ทีเ่ ป็ นองค์กรทีท่ าํ งาน กับทัง้ แรงงานไทยและแรงงานข้ามชาติว่า
พืน้ ทีศ่ นู ย์วฒ
ั นธรรมแรงงานของแขกทีม่ าร่วมงาน จากนัน้ มีการ “เราอยากเห็นความเป็ นมนุษย์อยู่ร่วมกัน ไม่ตอ้ งมามองว่าคนนัน้
กล่าวถึงวัตถุประสงค์ โดยตัวแทนศูนย์วฒ ั นธรรมแรงงาน และ เป็ นชาติโน้น คนนี้นบั ถือศาสนาโน้น เราอยากให้เรามองเห็นว่า
ผูแ้ ทนองค์กรต่างๆ ภายใต้หวั ข้อ "สมานฉันท์ขา้ มพรมแดน เราทัง้ คนๆนี้กค็ อื คน ทีจ่ ะอยู่รว่ มกันแบบมีศกั ดิศรี
์ อยู่ร่วมกันแบบมีความ
ผองล้วนพีน่ ้องกัน" เท่าเทียม”

ตัวแทนจากกลุ่มแรงงานข้ามชาติปะโอ กล่าวถึงการก่อตัง้ ศูนย์ นอกจากนี้ สุธาสินี ยังได้ตงั ้ คําถามถึงแรงงานทีอ่ ยู่ในระบบใน


วัฒนธรรมแรงงานบางกะปิ ว่า ศูนย์วฒ ั นธรรมแรงงานนี้ เกิดจาก โรงงานและนักสหภาพแรงงานว่า “นักสหภาพแรงงานจะ
แนวคิดร่วมกันระหว่างโครงการรณรงค์เพื่อแรงงานไทย กับกลุม่ เปลีย่ นแปลงทัศนะคติอย่างไร ให้การคุม้ ครองแรงงานข้ามชาติให้
แรงงานข้ามชาติ เพื่อเพิม่ ศักยภาพในการคุม้ ครองสิทธิแรงงาน อยู่บนความเท่าเทียมกันได้อย่างไร” ซึง่ เธอเสนอว่า “นักสหภาพ
ให้กบั สมาชิก อาสาสมัคร และเครือข่าย โดยศูนย์วฒ ั นธรรม จะต้องมีนโยบายระดับสหภาพแรงงาน และระดับชาติทจ่ี ะ
แรงงานจะเป็ นพืน้ ทีใ่ นการฝึกอบรมเพิม่ ทักษะและพัฒนาองค์ ขับเคลื่อนกับภาครัฐในเชิงนโยบาย ทีค่ นงานจะต้องอยู่กบั เราอย่าง
ความรูใ้ นด้านต่างๆ ทีจ่ าํ เป็ นต่อการดํารงชีวติ ในประเทศไทยให้กบั มีศกั ดิศรี
์ เท่าเทียมกัน นักสหภาพก็ตอ้ งไปเปลีย่ นทัศนคติ ไป
แรงงานข้ามชาติ เช่น การเปิ ดสอนภาษาไทย การเปิ ดสอน เปลีย่ นข้อบังคับ เพื่อทีจ่ ะให้คนงานได้เป็ นสมาชิกสหภาพหรือเป็น
คอมพิวเตอร์ การอบรมกฎหมายแรงงาน การเปิ ดอบรมการป้องกัน กรรมการสหภาพเพื่อทีจ่ ะได้ เรียกร้อง นี่คอื สิง่ ทีเ่ ราจะเห็นความ
การค้ามนุษย์ การฝึกดนตรีและงานศิลปะ เป็ นต้น เปลีย่ นแปลงทีเ่ ราอยู่ร่วมกัน”

นอกจากนี้ ศูนย์ฯ ยังทําหน้าทีท่ ส่ี าํ คัญอื่นอีก คือ การเผยแพร่องค์ “กฎหมายฉบับไหนก็ตามทีอ่ ยูใ่ นไทยมันควรทีจ่ ะคุม้ ครองกับคน
ความรูท้ เ่ี กีย่ วข้องกับแรงงานต่างชาติทอ่ี ยู่ในประเทศไทย ในกลุม่ ทีม่ าอยู่กบั เรา ไม่ว่าจะเป็ นกฎหมายคุม้ ครองแรงงาน กฎหมาย
ชาติพนั ธ์ต่างๆ ในด้านประวัตศิ าสตร์ สังคม เศรษฐกิจ การเมือง แรงงานสัมพันธ์ นักสหภาพก็ตอ้ งไปแก้เพราะมีจุดอ่อนอยูว่ ่าต้อง
และวัฒนธรรม โดยจะทําหน้าทีร่ วบรวมหนังสือ บทเพลง เป็ นเฉพาะเชือ้ ชาติไทยหรือ สัญชาติไทยก็ตอ้ งไปแก้ตรงนี้
ภาพยนตร์ และงานศิลปะ เพื่อให้ประชาชนในบริเวณใกล้เคียง กฎหมายประกันสังคม เรื่องสุขภาพ จะเข้าถึงประกันสังคมหรือ
นิสติ นักศึกษา และผูท้ ส่ี นใจใคร่รู้ ได้มแี หล่งค้นหาข้อมูลต่างๆ กองทุนทอดแทนได้อย่างไร เราอยากเห็นกฎหมายทีอ่ ยู่ในบ้านเรา
เหล่านี้เพิม่ มากขึน้ คุม้ ครองคนงานทีม่ าทํางานในบ้านเราไม่ว่า เชื่อชาติไหนศาสนาใด
ซึง่ เป็ นสิง่ ทีโ่ ครงการรณรงค์ตระหนักและให้ความสําคัญ รวมถึง
หลังจากนัน้ สุธาสินี แก้วเหล็กไหล จากโครงการรณรงค์เพื่อ เรื่องอื่นๆ เราอยากเห็นความสวยงามของมนุษย์” สุธาสินี กล่าวทิง้
แรงงานไทย และจิตรา คชเดช เจ้าหน้าทีแ่ ละทีป่ รึกษาสหภาพ ท้าย
แรงงานไทรอัมพ์ฯ และกลุ่มสหกรณ์คนงาน Try Arm กล่าวกับศูนย์
วัฒนธรรมแรงงาน ภายใต้หวั ข้อ "สมานฉันท์ขา้ มพรมแดน เราทัง้ การไม่มีตวั ตนทางสังคม เป็ นคนผิดกฎหมาย ปิ ดกัน้ การ
ผองล้วนพีน่ ้องกัน" รวมกลุ่ม ทาให้กดขี่และควบคุมเราได้มากขึน้ ไม่ว่าแรงงาน
ข้ามชาติ หรือไทย
กฎหมายที่อยูใ่ นบ้านเราต้องคุ้มครองคนงานที่มาทางานใน
บ้านเราไม่ว่าเชื้อชาติ ไหนศาสนาใด จิตรา คชเดช เจ้าหน้าทีแ่ ละทีป่ รึกษาสหภาพแรงงานไทรอัมพ์ฯ
และกลุ่มสหกรณ์คนงาน Try Arm ได้เริม่ ต้นด้วยการแนะนําตนเอง
สุธาสินี แก้วเหล็กไหล ผอ.โครงการรณรงค์เพื่อแรงงานไทย ได้ ว่า “จริงๆ แล้วนอกจากเป็ นคนงานแล้ว ยังไม่รวู้ ่าตนเองเรียก
กล่าวถึงการจัดตัง้ ศูนย์วฒ
ั นธรรมแรงงานนี้ว่า “ศูนย์ฯ นี้เป็ นความ ตนเองว่าเป็ นคนไทยได้หรือเปล่าเพราะดัง้ เดิมแล้วครอบ ครัวเป็น
ร่วมมือกันระหว่างเครือข่ายปะโอกับโครงการรณรงค์ (เพื่อแรงงาน คนโซ่ง ซึง่ มาจากเดียนเบียนฟู เวียดนาม ซึง่ อาจจะเข้ามานาน
ไทย) โดยมีวตั ถุประสงค์เพื่อทีจ่ ะเรียนรูร้ ่วมกัน ทางด้านวัฒนธรรม แล้วก็กลายมาเป็ นสิง่ ทีเ่ รียกว่าคนไทย ในอนาคตอีก 20-30 ปี พวก
ภาษา กฎหมาย พูดถึงการค้ามนุษย์ พูดถึงศิลปะ อยากจะเห็น เราถ้าไม่กลับประเทศเราก็จะกลายเป็ นคนไทย เพราะเอาเข้าจริง
แล้วคนไทยทีน่ ิยามนี้กม็ าจากหลายเชือ้ ชาติ หลายเผ่าพันธุ์ คําว่า

10 << คนทำงำน ธันวำคม 2553


คนไทยก็มไี ว้เพื่อทีจ่ ะแบ่งแยก พยายามทีจ่ ะสร้างคํานิยามขึน้ มา แล้วมันเป็ นกระบวนการของระบบทุนทีท่ าํ ให้พวกเรารูส้ กึ แบบนัน้
เพื่อทีจ่ ะกดขี”่ ต่อกัน ไม่ได้เป็ นเรื่องทีเ่ กิดขึน้ โดยธรรมชาติ ทัง้ ๆ ทีเ่ รามีความเป็ น
คนเหมือนๆกัน ถูกกดขีเ่ หมือนกัน นายทุนก็เมื่อมีแรงงานข้ามชาติ
เหตุทเ่ี กิดแรงงานผิดหรือถูกกฎหมาย จิตรามองว่า “เป็ นเรื่องของ เข้ามาเขาก็จะมาต่อรองกับคนงานไทยว่าถ้ารวม ตัวต่อรองเยอะก็
ระบบทุน เมื่อไหร่ทเ่ี ราไม่มตี วั ตนทางสังคม เมื่อไหร่ทเ่ี ราเป็ นคน จะไม่จา้ งคนไทยก็จะจ้างแรงงานข้ามชาติ มันก็ต่อรองทัง้ 2 ฝา่ ย
ผิดกฎหมาย เขาก็จะกดขีพ่ วกเราได้มากขึน้ เขาก็จะจ่ายค่าจ้างไม่ ในขณะทีต่ ่อรองแรงงานข้ามชาติว่า จะจ่ายค่าจ้างน้อยๆเพราะเข้า
เป็ นไปตามทีก่ ฎหมายกําหนดได้ เดินทางออกนอกเขตก็ถูกหาว่า เมืองไม่ถูกกฎหมาย จริงๆ แล้วคนทีไ่ ด้กาํ ไรทัง้ 2 ซีกเลยก็คอื พวก
ผิดกฎหมายเขาก็จะสามารถทีจ่ ะควบคมเราได้ เขาต้องการแรงงาน นายทุน” จิตรา กล่าว
ทีถ่ ูกควบคุม สิง่ เหล่านี้ไม่ใช่แค่คนงานข้ามชาติ คนงานไทยก็ถกู ทํา
ให้รสู้ กึ ไม่มตี วั ตน ก็คอื พยายามปิ ดกันการรวมตัวรวมกลุ่ม” จิตรายังได้ยาํ ถึงความจําเป็ นในการรวมตัวรวมถึงบทบาทของ
สหภาพแรงงานว่า “เราร่วมมือกันแลกเปลีย่ นข้อมูลกันสร้าง
จิตรามองได้กล่าถึงข้อดีของการมีศนู ย์วฒ ั นธรรมแรงงานและการ ขบวนการร่วมกันก็คดิ ว่าเป็ นเรื่อง ทีส่ าํ คัญมาก สหภาพแรงงานเอง
รวมตัวว่า “มันก็เป็ นจุดเริม่ ต้นของการแลกเปลีย่ นข่าวสาร ก็ตอ้ งเปิ ดรับแรงงานข้ามชาติเข้ามาเป็ นสมาชิกสหภาพแรงงาน ใน
แลกเปลีย่ นปญั หา นําไปสูก่ ารปรึกษาหารือ ซึง่ ถ้าเราอยูค่ นเดียว ขณะเดียวกันแรงงานข้ามชาติเองก็ตอ้ งเข้าใจเรื่องสิทธิและ
จัดการปญั หาก็เป็ นเรื่องของคนๆเดียว ถ้าเมื่อไหร่ปญั หามันเข้ามา ขวนขวายทีจ่ ะเข้า ไปสูส่ หภาพแรงงาน”
เป็ นเรื่องของกลุ่ม เป็ นเรื่องของส่วนร่วมเราก็จะได้ร่วมแก้ปญั หากัน
ได้ “สําหรับอุตสาหกรรมตัดเย็บเสือ้ ผ้า ซึง่ มีเงื่อนไขหนึ่งทีใ่ ช้ต่อรองที่
เรียกว่าจริยธรรมของนักลงทุนแบรนเนม ต่างๆ เสือ้ ผ้าทีม่ ยี ห่ี อ้ ชือ่
“ถ้ามีแรงงานข้ามชาติเข้ามาเป็ นเทศไทยเยอะ อีกมุมหนึ่งรัฐก็ ดัง ถ้าเราหรือเพื่อเราทํางานอยู่ในอุตสาหกรรมตัดเย็บเสือ้ ผ้ามันก็มี
พยายามบอกว่าแรงงานข้ามชาติเข้ามาก็เพื่อแย่งงาน มาก่อ วิธกี ารต่อ รองอีกแบบก็คอื ไม่ใช่แค่ต่อรองแค่รฐั บาลไทยเท่านัน้ แต่
อาชญากรรม การสร้างค่านิยมแบบนี้ทาํ ให้คนมองแรงงานข้ามชาติ มันมีการต่อรองทางสากลด้วยก็คอื ต่อรองทีแ่ บรน เครื่องมือทีด่ ที ส่ี ดุ
เป็ นฝา่ ยตรงข้าม สร้างความรังเกียจระหว่างกันไม่สามัคคีกนั แม้ คือการรวมตัว เมื่อเรารวมตัวแล้วก็นําไปสูก่ ารเจรจาต่อรอง
กระทัง้ หยิบยกเรื่องประวัตศิ าสตร์ท่ี พวกเราก็ไม่ใช่คนเขียน รัฐเป็ น แน่นอนประเด็นพวกนี้เกีย่ วเนื่องกัน เศรษฐกิจ สังคมและการเมือง
คนเขียนปลุกกระแสชาตินิยมขึน้ มาว่า เมื่อสมัยอยุธยาพม่าเข้ามา สิง่ ทีส่ าํ คัญอีกเรื่องหนึ่งคือการเรียนรูเ้ พื่อทําความเข้าใจระบบการ
เผาเมือง ทําให้ความเชื่อของคนไทยมองพม่าเป็ นศตรู แต่จริงๆ กดขี”่ จิตรากล่าวทิง้ ท้าย

คนทำงำน ธันวำคม 2553 >> 11


บทความ >>

แรงงานที่ถูกลืม
บุญยืน สุขใหม่
ผู้ประสานงานกลุ่มพัฒนาแรงงานสัมพันธ์ตะวันออก

หลัง จากผ่านพ้นวิกฤติการเมืองช่วงเมษา-พฤษภา ๕๓ ทําให้หลายคนรูส้ กึ โล่งอกกับปญั หาเฉพาะหน้าหรือเรื่องทีเ่ ป็ นกังวลอยู่ลกึ ๆ ในใจ


หลังสิน้ เสียงระเบิดและกลิน่ คาวเลือดมีคาํ ถามต่างๆ เกิดขึน้ ภายหลังเหตุการณ์มากมาย ไม่ต่างจากเหตุการณ์ทางการเมืองหลายครัง้ ที่
ผ่านมาในอดีต ผูช้ นะมักเป็ นผูเ้ ขียนประวัตศิ าสตร์เสมอ ทีผ่ ่านมาเราจึงเห็นประวัตศิ าสตร์หรือเค้าโครงของประเทศไทยบิดเบีย้ วตลอดมา
ทุกยุคทุกสมัย

วันนี้ กระแสการปฏิรปู กําลังมาแรง นักวิชาการก็จะปฏิรปู นักแรงงานก็จะปฏิรปู แล้วคนอย่างผมทีไ่ ม่อยากร่วมวงด้วยกับใครจะอยู่


ตรงไหนของสังคม ผ่านมาได้สป่ี ี นิดๆ กับเหตุการณ์เปลีย่ นแปลงทางการเมืองทีห่ ลายคนบอกว่าไม่น่าเชื่อว่าจะมีผล กระทบมากมายขนาด
นี้ แม้แต่ผกู้ ระทําการอย่าง “พลเอกสนธิ ” เองยังคาดไม่ถงึ ว่าสังคมไทยจะเกิดความแตกแยกได้มากมายขนาดนี้

ท่าม กลางวาทกรรมและการช่วงชิงการนําทางการเมืองของแต่ละฝา่ ย เมื่อฝา่ ยหนึ่งยิง่ ไต่เต้าขึน้ สูงเท่าใด ก็ยงิ่ สร้างความหายนะให้กบั


ผูอ้ ่นื มากเท่านัน้ เพราะการจะไปถึงจุดหมายจําเป็ นอย่างยิง่ ทีต่ อ้ งมีการแก่งแย่งช่วงชิง จะต้องหยาบคายไร้มโนธรรม จะต้องฝา่ ฝืน
กฎเกณฑ์ นี่แหละสังคมทีเ่ ราอยูจ่ งึ เสือ่ มทรามลงไปเรื่อยๆ เต็มไปด้วยการต่อสูช้ ว่ งชิงไม่มที ส่ี น้ิ สุด และถึงแม้พวกนักการเมือง พวกนั ก
กฎหมายและพวกเศรษฐีทด่ี นิ จะพรํ่าเพ้อถึงสันติภาพและการเลือกตัง้ มาก เพียงใด คําพูดทีเ่ ปล่งเสียงออกมานัน้ ก็หามีความหมายไม่ มัน
เป็ นเพียงแค่มายาจริตจอมปลอมเท่านัน้ เอง หรืออาจเพียงเพราะแค่ตอ้ งการให้ภาพของตนเองดูดขี น้ึ

12 << คนทำงำน ธันวำคม 2553


เมื่อ เราผ่านพ้นวิกฤติการเมืองมาได้อย่างล้มลุกคลุกคลานทีห่ ลายคนบอกว่าให้ลมื ซะ แล้วหันหน้ามาปรองดองกัน ให้ตายเถอะผมคงลืม
มันไม่ได้เพราะผมไม่ใช่ “ควาย” ทีใ่ ครจะมาออกคําสังให้ ่ ซา้ ยหันหรือขวาหันก็ได้อย่างใจนึก อยากจะให้จาํ อะไรก็ตอ้ งจําหรืออยากให้ลมื
อะไรก็ตอ้ งลืม มันไม่ง่ายอย่างทีน่ กั บุญทัง้ หลายพ่นนํ้าลายใส่กนั หลอก แต่เราจะมาหยุดพักพูดเรื่องการเมืองกันสักนิดก่อน

เรา หันมาพูดเรื่องสถานการณ์แรงงานกันบ้างเป็ นอย่างไรในปี น้ี ในภาคตะวันออกของประเทศไทยโดยเฉพาะในพืน้ ทีจ่ งั หวัดชลบุรแี ละ


ระยอง ซึง่ มีอตั ราการเติบโตของเศรษฐกิจอยู่ในเกณฑ์ทส่ี งู แต่ขณะเดียวกันการรวมกลุ่มหรือรวมตัวของคนงานเพื่อจัดตัง้ เป็ นสหภาพ
แรงงาน เพื่อต่อรองกับนายจ้างก็มสี ดั ส่วนในอัตราทีส่ งู เช่นเดียวกัน

ตัง้ แต่ เริม่ เข้าเดือนตุลาคม ๒๕๕๓ เป็ นต้นมา ในภาคตะวันออกมีสหภาพแรงงานกว่า ๑๐๐ แห่งทะยอยยื่นข้อเรียกร้องเพื่อขอ
เปลีย่ นแปลงสภาพการจ้างต่อนายจ้างซึง่ เป็ น ชาวต่างชาติ โดยทีป่ ระเด็นหลักๆ ส่วนใหญ่จะมุง่ เน้นไปทีก่ ารขอโบนัสประจําปี ซึง่ หลาย
สหภาพแรงงานก็ประสบความสําเร็จในระดับหนึ่งเป็ นทีน่ ่าพอใจของสมาชิก สหภาพแรงงานทัง้ หลายรวมทัง้ เหลือบแรงงาน(หรืออาจจะ
เรียกว่าเห็บหรือหมัดก็ ได้นะ) ทีไ่ ม่ได้เป็ นสมาชิกสหภาพแรงงานแต่พลอยได้รบั ผลประโยชน์จากการยื่นข้อเรียก ร้องของสหภาพแรงงาน
ไปด้วย หลายคนได้วางโครงการสําหรับการใช้เงินไว้เรียบร้อยแล้ว แต่กม็ อี กี หลายคนเช่นกันทีไ่ ม่รสู้ กึ ยินดียนิ ร้ายกับเงินก้อนนัน้ นัก
เพราะว่าเจ้าหนี้คงจะหักหมดไม่เหลือไว้ให้แน่นอน หลายคนมีรอยยิม้ พร้อมเสียงหัวเราะอย่างดีใจเมื่อเห็นข้อตกลงระหว่างนายจ้าง กับ
สหภาพแรงงานหรือเมื่อบริษทั ปิดประกาศเรื่องการจ่ายโบนัส มันเป็ นเหมือนรางวัลสําหรับชีวติ หลังจากการทํางานอย่างเหน็ดเหนื่อยมา
ตลอดทัง้ ปี

ตัวอย่างการจ่ายโบนัสในบริษทั ต่างๆ ในภาคตะวันออกที่เจรจายุติแล้วแล้ว

แต่ ในอีกมุมหนึ่งของโรงงานมีพนักงานจํานวนหนึ่งยังคงก้มหน้าทํางานโดยไม่รสู้ กึ เหน็ดเหนื่อย เขาเหล่านี้ไม่มสี ทิ ธิที์ จ่ ะลาปว่ ย ไม่มสี ทิ ธิ


ทีจ่ ะลากิจ เพราะนันหมายถึ
่ งรายได้ทจ่ี ะต้องหดหายไป เขาไม่มสี ทิ ธิที์ จ่ ะได้รบั ค่าจ้างในวันหยุด และไม่มสี ทิ ธิที์ จ่ ะได้ปรับค่าจ้างประจําปี ถา้
ค่าจ้างของเขาสูงกว่าค่าจ้าง ขัน้ ตํ่ารายวันทีร่ ฐั บาลประกาศกําหนด ไม่มสี ทิ ธิที์ จ่ ะได้รบั สวัสดิการใดๆ ทีส่ หภาพแรงงานร้องขอ และทีส่ าํ คัญ
ทีส่ ดุ คือเขาไม่มสี ทิ ธิที์ จ่ ะได้รบั โบนัสเช่นเดียวกับพนักงาน ประจําทัวไป
่ ทัง้ ๆ ทีง่ านทีผ่ ลิตออกไปขายให้กบั ลูกค้านัน้ ส่วนหนึ่งเกิดจาก

คนทำงำน ธันวำคม 2553 >> 13


หยาดเหงื่อและแรงกาย หรือบางครัง้ มาจากคราบนํ้าตาของพวกเขาเอง เขาได้รบั การปฏิบตั ทิ แ่ี ตกต่างจากพนักงานประจําของบริษทั อย่าง
สิน้ เชิงในทุกๆ ด้าน ยกเว้นเรื่องของการทํางานเท่านัน้ ทีเ่ ขาต้องทํามากและเสีย่ งกว่าพนักงานประจํา แต่สงิ่ ทีเ่ ขาได้รบั กลับคืนมามันช่ างน่า
ขมขืน่ ยิง่ นัก เขาเหล่านัน้ คือลูกจ้างในระบบเหมาค่าแรง หรือทีท่ กุ คนเรียกกันจนติดปากว่า “Subcontract”

หลาย แห่งพนักงานเหมาค่าแรงตกเป็ นเครื่องมือของนายจ้างในการนํามาต่อรองหรือลด บทบาทของสหภาพแรงงาน แต่บางแห่งพนักงาน


เหมาค่าแรงก็ตกเป็ นเครื่องมือของสหภาพแรงงานในการต่อรอง กับนายจ้าง “โดยบอกว่าให้ออกมาร่วมกดดันต่อสู้รว่ มกันแล้วชัย
ชนะจะเป็ นของทุกคน” เมื่อการเจรจายุติ สมาชิกสหภาพแรงงานทุกคนกลับเข้าทํางานได้ตามปกติ แต่พนักงานเหมาค่าแรงทีอ่ อก
มาร่วมต่อสูก้ ลับถูกเลิกจ้างโดยไม่มใี ครออก มารับผิดชอบหรือเหลียวแล ในขณะทีพ่ นักงานประจํา จํานวนมากกําลังสาละวนกับการวาง
แผนการใช้เงินโบนัส ว่าจะไปเทีย่ วทีไ่ หน จะซือ้ อะไรไปฝากพีน่ ้องทีช่ นบท

แต่ คนงานเหมาค่าแรงเขาไม่กล้าแม้แต่จะคิด เพราะเพียงลําพังค่าแรงทีไ่ ด้รบั ในแต่ละเดือนก็แทบจะไม่พอกับค่าใช้จ่ายประจํา เดือนทีม่ อี ยู่


แล้ว ฉะนัน้ สําหรับการวางแผนของพนักงานเหมาค่าแรงหลายคนในช่วงเทศกาลหยุดยาวในปีใหม่ท่ี จะถึงนี้จงึ เป็ นตารางการทํางาน
ล่วงเวลาในวันหยุด โดยหวังว่าจะได้เงินเพิม่ ขึน้ มาอีกสักนิดเพื่อเป็ นค่าเทอมให้กบั ลูก หรือส่งให้กบั ครอบครัวทีร่ อรับการเยียวยาอยู่ท่ี
ชนบท นานแค่ไหนแล้วทีเ่ ขาเหล่านี้ตอ้ งอดทนทํางานหนัก เสีย่ งอันตราย และส่วนใหญ่ตอ้ งทํางานล่วงเวลานานหลายชัวโมง ่ จนร่างกาย
เสือ่ มโทรมและมีคุณภาพชีวติ ทีต่ ่ําๆ เพียงเพื่อแลกกับเศษเงินของนายจ้างเป็ นค่าแรงราคาถูกทีพ่ อแค่เลีย้ งชีพได้ไป วันๆ แต่คนทีไ่ ด้
ประโยชน์และเสวยสุขจากหยาดเหงื่อและแรงงานของพวกเขาเป็นเพียงแค่ คนไม่กค่ี น คือบริษทั นายหน้าค้ามนุษย์ รวมทัง้ บริษทั ทีใ่ ช้
บริการการจ้างงานเหมาค่าแรงเอง เขามีความผิดอะไร ทําไมเขาไม่ได้รบั การปฏิบตั ทิ เ่ี ท่าเทียมเหมือนกับผูใ้ ช้แรงงานทัวไป ่

เมื่อมองย้อนกลับมาดูแนวนโยบายแห่งรัฐในรัฐธรรมนูญปี พ.ศ. ๒๕๕๐ ซึง่ ได้บญั ญัตไิ ว้ในมาตรา ๘๔(๗) ซึง่ ได้เขียนไว้อย่างสวยหรูว่า
“ส่ง เสริมให้ประชากรวัยทางานมีงานทา คุ้มครองแรงงานเด็กและสตรี จัดระบบแรงงานสัมพันธ์และระบบไตรภาคีที่ผทู้ างานมี
สิ ทธ์เลือกผูแ้ ทนของตน จัดระบบประกันสังคม รวมทัง้ คุม้ ครองให้ผทู้ างานที่มีคณุ ค่าอย่างเดียวกันได้รบั ค่าตอบแทน สิ ทธิ
ประโยชน์ และสวัสดิ การโดยที่เป็ นธรรมและไม่เลือกปฏิ บตั ิ ”

และในขณะเดียวกันก็มกี ารประกาศบังคับใช้ พระราชบัญญัตคิ มุ้ ครองแรงงาน (ฉบับที่ ๒) พ.ศ. ๒๕๕๑ มาตรา ๑๑/๑ ซึง่ เป็ นประเด็นที่
สําคัญเกีย่ วกับการจ้างงานในระบบเหมาค่าแรงโดยมีเนื้อหา ทีน่ ่าจะเป็ นประโยชน์กบั ลูกจ้างในระบบเหมาค่าแรง คือ “ใน กรณีทผ่ี ปู้ ระกอบ
กิจการมอบหมายให้บุคคลหนึ่งบุคคลใดเป็ นผูจ้ ดั หาคนมาทํางาน อันมิใช่การประกอบธุรกิจจัดหางาน โดยการทํางานนัน้ เป็ นส่วนหนึ่งส่วน
ใดในกระบวนการผลิตหรือธุรกิจในความรับผิด ชอบของผูป้ ระกอบกิจการ และโดยบุคคลนัน้ จะเป็ นผูค้ วบคุมดูแลการทํางานหรือ
รับผิดชอบในการจ่ายค่าจ้าง ให้แก่คนทีม่ าทํางานนัน้ หรือไม่กต็ าม ให้ถอื ว่าผูป้ ระกอบกิจการเป็นนายจ้างของคนทีม่ าทํางานดังกล่าว

ให้ ผูป้ ระกอบกิจการดําเนินการให้ลกู จ้างรับเหมาค่าแรงทีท่ าํ งานในลักษณะเดียวกัน กับลูกจ้างตามสัญญาจ้างโดยตรง ได้รบั สิทธิ


ประโยชน์และสวัสดิการทีเ่ ป็ นธรรมโดยไม่เลือกปฏิบตั ิ

แต่ ในความเป็ นจริง แรงงานเหล่านัน้ กลับถูกเลือกปฏิบตั อิ ย่างชัดเจน และไม่ได้รบั สิทธิประโยชน์ท่ีเท่าเทียมกันกับคนงานประจํา เสมือน


ว่า พวกเขาเป็ นคนอีกชัน้ หนึ่งของโรงงาน ไม่มสี ทิ ธิที์ จ่ ะได้รบั การคุม้ ครองตามทีร่ ฐั ธรรมนูญบัญญัตไิ ว้ ในอดีตประเด็นการจ้างงานเหมา
ค่าแรงถือว่าเป็ นประเด็นทีร่ อ้ นแรงทุกคนในสังคม ต่างให้ความสนใจ และพยายามผลักดันให้เขาเหล่านัน้ ได้รบั สิทธิทเ่ี ป็ นธรรมและเท่า
เทียม แต่วนั นี้ทาํ ไมกระแสความพยายามทีจ่ ะเปลีย่ นแปลงสังคมถึงได้เงียบหายไป หรือ เขาเหล่านี้ ได้ถกู ลืมไปแล้วจากสังคม
................

“ยกเลิ กสัญญาทาส ยุติเหมาค่าแรง ยุติความยากจน”

14 << คนทำงำน ธันวำคม 2553


จับตาประเด็นร้อน >>

ตั้งสภาแรงงานแห่งที่ 13 สร้างคนทางานรุ่นใหม่-ยกระดับชีวิตคนทางาน

15 ธ.ค. 53 - เวลาประมาณ 10.00 น. ทีห่ อ้ งประชุมกรมสวัสดิการ 1.สหภาพแรงงาน พนักงานไดดอง แห่งประเทศไทย ทะเบียน ชบ.
และคุม้ ครองแรงงาน คณะผูก้ ่อการสภาองค์การลูกจ้างแรงาน 142/2552 มีมติเมื่อ 11 ต.ค.52
สัมพันธ์แห่งประเทศไทย (สภ.รส.) นําโดยนายทศพร คุม้ ตะโก
ประธานผูก้ ่อการสภาองค์การลูกจ้างแรงานสัมพันธ์แห่งประเทศ 2.สหภาพแรงงาน โอวายที ทะเบียน รย. 54/2551 มีมติเมื่อ 28
ไทย ได้เข้ารับมอบทะเบียนสภาฯ จากนายสมชาย วงษ์ทอง รอง พ.ย.52
อธิบดีกรมสวัสดิการและคุม้ ครองแรงงาน และนายสุวทิ ย์ สุมาลา
ผูอ้ าํ นวยการสํานักแรงงานสัมพันธ์ โดย นายทศพร คุม้ ตะโก กล่าว 3.สหภาพแรงงาน ฟูรกู าวายูนิค ไทยแลนด์ ทะเบียน รย. 63/2552
ว่าการก่อตัง้ สภาองค์การลูกจ้างแรงานสัมพันธ์แห่งประเทศไทย มีมติเมื่อ 28 พ.ย.52
แห่งนี้เพื่อเป็ นองค์กรคุม้ ครองสิทธิของแรงงาน รวมถึงเป็ นการ 4.สหภาพแรงงาน ผูบ้ งั คับบัญชาไอทีเอฟ ทะเบียน รย.11/2547 มี
สนับสนุนนักสหภาพแรงงานรุ่นใหม่เข้ามาทํากิจกรรมเพื่อคนงาน มติเมื่อ 5 ธ.ค.52
นายสมชาย วงษ์ทอง รองอธิบดีกรมสวัสดิการและคุม้ ครองแรงงาน
5.สหภาพแรงงาน พนักงานไอทีเอฟ ทะเบียน รย.12/2547 มีมติ
กล่าวกับคณะผูก้ ่อการว่าเรื่องแรงงานสัมพันธ์นนั ้ เป็ นเรื่องทีม่ ี เมื่อ 5 ธ.ค.52
ความสําคัญ ต่อระบบเศรษฐกิจไทย โดยเมื่อมีวกิ ฤตเศรษฐกิจใน
แต่ละครัง้ การดําเนินการด้านแรงงานสัมพันธ์ระหว่างนายจ้าง 6.สหภาพแรงงาน ซี.เค.ดี.ไทย ทะเบียน ชบ.117/2550 มีมติเมือ่
ลูกจ้างจะช่วยประคองให้รอดพ้น สถานการณ์วกิ ฤตมาได้ รวมทัง้ 20 ธ.ค.52
ภาครัฐเองก็ให้ความสําคัญ โดยเมื่อวานนี้ (14 ธ.ค. 53) กระทรวง
แรงงานก็ได้เสนอเรื่องอนุสญั ญา ILO 87 และ 98 ต่อคณะรัฐมนตรี 7.สหภาพแรงงาน ไฮคอม ประเทศไทย ทะเบียน รย. 73/2552 มี
และก็ได้ผ่านคณะรัฐมนตรีแล้ว เหลือแค่การผ่านความเห็นชอบจาก มติเมื่อ 5 ม.ค.53
สภาผูแ้ ทนราษฎรเท่านัน้ ทัง้ นี้สภาองค์การลูกจ้างแรงงานสัมพันธ์
แห่งประเทศไทยถือว่าเป็ นสภาองค์กรลูกจ้างแห่งที่ 13 ของ 8.สหภาพแรงงาน อาหารสยาม ทะเบียน ชบ.12/2522 มีมติเมื่อ 30
ประเทศไทย สําหรับสหภาพแรงงานทีร่ ่วมก่อตัง้ สภาฯแห่งนี้มี ม.ค.53
จํานวน 21 องค์กร ประกอบไปด้วย

คนทำงำน ธันวำคม 2553 >> 15


9.สหภาพแรงงาน รากแก้วสัมพันธ์ ทะเบียน รย. 41/2550 มีมติ 16.สหภาพแรงงาน เอเวอรี่ ทะเบียน รย. 53/2551 มีมติเมื่อ 12
เมื่อ 20 ก.พ.53 ส.ค.53

10.สหภาพแรงงานนิชชิน เอสทีซี ทะเบียน สป. 948 มีมติเมื่อ 14 17. สหภาพแรงงาน ไทยยาชิโร่ ทะเบียน ชบ.107/2549 มีมติเมือ่
มี.ค.53 15 ส.ค.53

11.สหภาพแรงงาน ที.พี.พี ทะเบียน รย. 48/2550 มีมติเมื่อ 21 18. สหภาพแรงงาน อิเนอร์ยี ประเทศไทย ทะเบียน รย. 55/2551
มี.ค.53 มีมติเมื่อ 29 ส.ค.53

12.สหภาพแรงงาน ลัคกี้ ยูเนียน ทะเบียน รย. 56/2551 มีมติเมื่อ 19.สหภาพแรงงาน อาซาคาวา ประเทศไทย ทะเบียน รย.
28 มี.ค.53 25/2548 มีมติเมื่อ 12 ก.ย.53

13.สหภาพแรงงาน เมตัลฟา ประเทศไทย ทะเบียน รย.19/2548 มี 20.สหภาพแรงงาน พลังแรงงานไทยวายพีซี ทะเบียน


มติเมื่อ 22 พ.ค.53 ชบ.173/2553 มีมติเมื่อ 15 ก.ย.53

14.สหภาพแรงงาน โซนี่ ประเทศไทย ทะเบียน ชบ.113/2550 มี 21.สหภาพแรงงาน เจเนอรัลมอเตอร์ ประเทศไทย ทะเบียน ชบ.
มติเมื่อ 1 ส.ค.53 99/2549 มีมติเมื่อ 1 ต.ค.53

15.สหภาพแรงงาน ฟิชเชอร์แอนด์พายเคิล ไทยแลนด์ ทะเบียน


รย. 85/2553 มีมติเมื่อ 8 ส.ค.53

แรงงานเรียกร้องให้รัฐบาลยุตินโยบายเลือกปฏิบัติและละเมิดสิทธิแรงงานข้ามชาติ

เนื่องในวันเเรงงานข้ามชาติสากล วันที่ 18 ธันวาคม 2553 ต่อมาจึงกําหนดนโยบายการจัดการเเรงงาน โดยทําบันทึกความ


สมาพันธ์แรงงานรัฐวิสาหกิจสัมพันธ์ (สรส.) มูลนิธเิ พื่อสิทธิ เข้าใจ (MOU) กับ ประเทศลาว กัมพูชา และพม่า ในปี 2545 และ
มนุษยชนและการพัฒนา (มสพ.) และคณะกรรมการสมานฉันท์ 2546 เพื่อสร้างความร่วมมือในการนําเข้าเเรงงานจากทัง้ สาม
แรงงานไทย (คสรท.) ขอเรียกร้องให้รฐั บาลเปิ ดให้มกี ารขึน้ ประเทศอย่างถูกกฎหมายและ เพื่อดําเนินการพิสจู น์สญ ั ชาติเเรง
ทะเบียนเเรงงานข้ามชาติทงั ้ หมด ทบทวนนโยบายกวาดล้างแล้ว งานทีห่ ลบหนีเข้าเมืองทีไ่ ด้ขน้ึ ทะเบียน ไว้กบั ทางราชการแล้ว
ผลักดันเเรงงานข้ามชาติกลับประเทศต้นทาง ให้หน่วยงานองค์การ
ตัวเลขอย่างเป็ นทางการระบุจาํ นวนเเรงงานข้ามชาติทข่ี น้ึ ทะเบียน
สหประชาชาติร่วมตรวจสอบกรณีการละเมิดสิทธิแรงงานข้ามชาติ
ไว้ในปี 2553 มีกว่า 1.3 ล้านคน ขณะทีป่ ระมาณการตัวเลขทีเ่ เท้
ยกเลิกกฎหมายและนโยบายเลือกปฏิบตั ติ ่อแรงงานข้ามชาติและ
จริงของเเรงงานข้ามชาติและผูต้ ดิ ตามทีเ่ ข้ามา อาศัยอยูใ่ นประเทศ
การหักเงินค่าจ้าง เข้ากองทุนเพือ่ การส่งกลับ ตลอดจนกําหนด
ไทยมีจาํ นวนกว่า 2 ล้านคน ในจํานวนนี้กว่า80 % เป็ นเเรงงาน
นโยบายจัดการเเรงงานข้ามชาติระยะยาวให้สอดคล้องกับ
จากประเทศพม่า การทีม่ แี รงงานจากประเทศพม่าหลังไหลเข้ ่ ามาสู่
สถานการณ์ท่ี เป็ นจริงของการย้ายถิน่ และความต้องการเเรงงาน
ประเทศไทยจํานวนมหาศาลนัน้ นอกจากภาวะกดดันทางการเมือง
ของประเทศ และให้ประเทศไทยและสมาชิกอาเซียนเข้าเป็ นภาคี
สังคม เศรษฐกิจ ตลอดจนการละเมิดสิทธิมนุษยชนในประเทศ
อนุสญ ั ญาว่าด้วยการคุม้ ครอง เเรงงานข้ามชาติและครอบครัว
ดังกล่าวจะเป็ นเเรงผลักสําคัญก็ตาม ความต้องการเเรงงานใน
การเคลื่อนย้ายถิน่ ฐานข้ามชาติของเเรงงานไม่ใช่เรื่องใหม่ของ ประเทศไทยโดยเฉพาะในภาคการผลิตทีต่ อ้ งทํางานหนัก สกปรก
ประเทศไทย จากนโยบายของรัฐบาลทีผ่ ่อนผันให้ขน้ึ ทะเบียนเเรง เสีย่ งต่ออันตรายและมีปญั หาสุขภาพก็เพิม่ ขึน้ อย่างมหาศาล
งานข้ามชาติทเ่ี ข้าเมืองโดย ผิดกฎหมายเพื่อให้แรงงาน "อยู่อาศัย เนื่องจากการขยายตัวทางเศรษฐกิจ และแรงงานไทยมีจาํ นวนน้อย
และทํางานในประเทศไทยได้ชวคราวเพื
ั่ ่อรอการส่งกลับ" โดยเปิด ทัง้ ไม่นยิ มทํางานดังกล่าวเช่น งานประมง งานเกษตร และงาน
ให้ขน้ึ ทะเบียนเป็ นรายปี ตลอดช่วงระยะเวลากว่า 20 ปี ทผ่ี ่านมา ก่อสร้าง เป็ นต้น ทัง้ ความต้องการก็มแี นวโน้มสูงยิง่ ขึน้ จากผลวิจยั
16 << คนทำงำน ธันวำคม 2553
ชีว้ ่า อัตราการพึง่ พิงเเรงงานข้ามชาติในภาคการผลิตไทยคิดเป็น ให้กบั เเรงงานข้ามชาติ ซึง่ มีรายได้น้อย และมีรายจ่ายสูงอยู่แล้วไม่
9% ของแรงานทัง้ หมด และหากคิดเฉพาะสําหรับงานทีก่ ล่าว ว่าจะเป็ นค่าใช้จ่ายในการพิสจู น์สญั ชาติทต่ี อ้ ง จ่ายให้นายหน้าที่
ข้างต้น มีอตั ราการพึง่ พิงเเรงงานข้ามชาติสงู ถึง16% ของกําลังเเรง เรียกค่าบริการสูงเกินจริงและดําเนินกิจการโดยขาดการควบคุม
งานทัง้ หมด โดยกําลังแรงงานข้ามชาติได้สร้างผลผลิตมวลรวม เท่าทีค่ วรจากภาครัฐ ค่าขึน้ ทะเบียนและใบอนุญาตทํางาน ค่า
(GDP) ให้กบั เศรษฐกิจไทยมากมายมหาศาล หลักประกันสุขภาพ นอกจากนี้เเรงงานทีผ่ ่านการพิสจู น์สญ ั ชาติ
แล้วยังต้องถูกหักเงินค่าจ้าง เพือ่ นําส่งกองทุนประกันสังคม แต่
รัฐบาลได้แถลงนโยบายการแก้ไขปญั หาผูห้ ลบหนีเข้าเมืองและการ
ได้รบั สิทธิประโยชน์น้อยกว่าทีก่ ฎหมายกําหนด
จ้างเเรงงานข้ามชาติว่า จะดําเนินการให้สอดคล้องกับความ
ต้องการกําลังเเรงงานของประเทศและความสมดุล ระหว่างสิทธิ 4. การนําเข้าเเรงงานตาม MOU ที่ มีค่าใช้จ่ายสูง ไม่เป็ นระบบ
มนุษยชนกับความมันคงของชาติ
่ แต่ในความเป็ นจริงการปฏิบตั ิ และไม่สามารถตอบสนองต่อสถานการณ์จริงของการย้ายถิน่ และ

ตามนโยบายดังกล่าวยังมีปญหามากมาย ความต้องการเเรงงาน เห็นได้จากสถิตแิ รงงานนําเข้าตลอด
ระยะเวลา 7 ปี เพียง 24,000 คน ซึง่ มีเเรงงานพม่าเพียง 700 คน
1.กระบวน การพิสจู น์สญ ั ชาติทล่ี ่าช้าและไม่สามารถเข้าถึงเเรงงาน
ได้อย่างทัวถึ
่ งทําให้ มีเเรงงานทีแ่ สดงความจํานงเข้ารับการพิสจู น์
สัญชาติเพียง 1 ล้านคน เเรงงานข้ามชาติจาํ นวนอีกกว่าล้านคน
เพื่อให้นโยบายแรงงานข้ามชาติของรัฐบาลไทยดําเนินไปในทิศทาง
ต้องตกเป็ นเป้าของนโยบายการกวาดล้างจับ กุมเพื่อส่งกลับ
ทีส่ ามารถตอบสนองความ ต้องการของตลาดแรงงานบนพืน้ ฐาน
นโยบายดังกล่าวทีใ่ ห้อาํ นาจเจ้าหน้าทีอ่ ย่างกว้างขวางอาจถูกใช้
ของความชอบด้วยกฎหมาย หลักสิทธิมนุษยชน และเพื่อไม่ให้ถกู
เป็ นข้ออ้าง เพื่อให้เจ้าหน้าทีบ่ างคนใช้อาํ นาจโดยมิชอบ แสวงหา
ใช้เป็ นเครื่องมือในการทุจริตคอร์รปั ชันและการละเมิ
่ ด สิทธิ
ประโยชน์จากแรงงาน ทัง้ ยังมีกรณีละเมิดสิทธิมนุษยชนของเเรง
มนุษยชน สรส. มสพ. และ คสรท. จึงมีขอ้ เสนอต่อรัฐบาล
งานข้ามชาติระหว่างการถูกผลักดัน กลับ เช่นกรณีการผลักดัน
ดังต่อไปนี้
แรงงานกลับไปในช่องทางทีค่ วบคุมโดยกองกําลังกระเหรีย่ ง
DKBA เป็ น ต้น แม้หน่วยงานด้านสิทธิมนุษยชนจะได้รอ้ งเรียน 1. รัฐบาลควรทบทวนนโยบายการกวาดล้างจับกุมและการ
รัฐบาลแต่กย็ งั ไม่ได้รบั การตรวจ สอบและนําตัวผูก้ ระทําผิดมาสู่ ผลักดันเเรงงานข้ามชาติกลับ และเปิ ดให้มกี ารขึน้ ทะเบียนเเรงงาน
กระบวนการยุตธิ รรมแต่อย่างใด ข้ามชาติทงั ้ หมดใหม่โดยครอบคลุมถึงผูท้ ่ี ยังไม่เคยขึน้ ทะเบียนมา
ก่อน เพื่อเปิ ดโอกาสให้เเรงงานทีเ่ ข้าเมืองผิดกฎหมายทัง้ หมดได้
2. การขาดการทบทวนกฎหมายและระเบียบทีเ่ ลือกปฏิบตั สิ ง่ ผลให้
เเสดงตนและเเสด งความจํานงในการเข้าสูก่ ระบวนการพิสจู น์
เเรงงานข้ามชาติไม่ สามารถเข้าถึงสิทธิต่างๆได้ เช่น ประกาศ
สัญชาติ ตลอดจนควบคุมการให้บริการและอัตราค่าบริการของ
สํานักงานประกันสังคมทีย่ งั คงกีดกันเเรงงานข้ามชาติทอ่ี ยู่ระหว่าง
นายหน้าพิสจู น์สญ ั ชาติให้อยู่ ในอัตราทีเ่ หมาะสม เพื่อการ
รอ การพิสจู น์สญ ั ชาติและเเรงงานข้ามชาติทเ่ี หลือทีย่ งั ไม่ขน้ึ
แก้ปญั หาสถานะของเเรงงานข้ามชาติได้อย่างครอบคลุมและยัง
ทะเบียนจากการ เข้าถึงกองทุนเงินทดเเทน กฎกระทรวงฉบับที่
ป้องกันการ นํานโยบายดังไปอ้างเพื่อเเสวงประโยชน์โดยมิชอบ
ระบุให้เเรงงานภาคการเกษตรและประมงทะเลไม่ให้ได้รบั ความ
และการละเมิดสิทธิมนุษยชนของ เเรงงานข้ามชาติในระหว่างทีร่ อ
คุม้ ครองตามกฎหมายคุม้ ครองเเรงงาน ซึง่ ภาคการผลิตดังกล่าวใช้
การพิสจู น์สญ ั ชาติ
กําลังเเรงงานข้ามชาติเป็ นส่วนใหญ่ ระเบียบห้ามมิให้เเรงงานข้าม
ชาติเปลีย่ นนายจ้าง และการไม่อนุญาตให้เเรงงานข้ามชาติทาํ 2. เร่งตรวจสอบกรณีการละเมิดสิทธมนุษยชนของเเรงงานข้ามชาติ
ใบขับขี่ เป็ นต้น โดยเฉพาะอย่างยิง่ กรณีทเ่ี ชื่อได้ว่าเจ้าหน้าทีร่ ฐั อาจมีสว่ นเกีย่ วข้อง
อัน เป็ นผลมาจากการบังคับใช้นโยบายกวาดล้างและส่งกลับเเเรง
3. การกําหนดให้ตอ้ งหักเงินจากค่าจ้างเเรงงานข้ามชาติเพื่อนําส่ง
งานข้ามชาติและเพื่อ ประกันให้เกิดการตรวจสอบทีเ่ ป็ นอิสระ
กองทุนเพื่อการ ส่งกลับซึง่ มีผลบังคับใช้สาํ หรับเเรงงานข้ามชาติ
โปร่งใส โดยคํานึงถึงมาตรฐานสิทธิมนุษยชนระหว่างประเทศตาม
จากประเทศพม่า ลาว และกัมพูชา โดยทีม่ ไิ ด้มผี ลบังคับใช้กบั เเรง
เเนวโนบายการบริหารราชการ เเผ่นดินและตามคํามันที ่ ใ่ ห้ไว้กบั
งานสัญชาติอ่นื อันเป็ นการเลือกปฏิบตั แิ ละสร้างภาระอันเกินควร

คนทำงำน ธันวำคม 2553 >> 17


นานาประเทศในฐานะประธานคณะมนตรีสทิ ธิมนุษย ชน รัฐบาลจึง 5. รัฐสมาชิกอาเซียนต้องร่วมมือกันแก้ปญั หาแรงงานข้ามชาติและ
ควรเชิญผูร้ ายงานพิเศษเเห่งสหประชาชาติเข้ามาร่วมการ การค้ามนุษย์ดา้ น แรงงานอย่างจริงจัง โดยให้ถอื เป็ นวาระของ
ตรวจสอบด้วย อาเซียน และขอให้รฐั บาลไทยและรัฐสมาชิกอาเซียนเข้าเป็ นภาคี
ของอนุสญั ญาว่าด้วยการ คุม้ ครองเเรงงานข้ามชาติและครอบครัว
3. ยกเลิกกฎหมายและระเบียบทีเ่ ลือกปฏิบตั ิ เพื่อให้เเรงงานข้าม
ชาติสามารถเข้าถึงสิทธิประโยชน์ตามมาตรฐานสิทธิเเรงงาน และ คุณูปการ ของกําลังเเรงงานข้ามชาติต่อการขับเคลื่อนเศรษฐกิจ
ควรทบทวนนโยบายการหักเงินค่าจ้างเเรงงานข้ามชาติเข้ากองทุน ไทยนัน้ เป็ นสิง่ ทีไ่ ม่ สามารถปฏิเสธได้ แต่เเรงงานข้ามชาติกลับถูก
เพื่อการส่ง กลับเเรงงานข้ามชาติ มองเป็ นเพียงปจั จัยการผลิตและมองข้ามความเป็ น มนุษย์
นโยบายจึงถูกกําหนดขึน้ บนพืน้ ฐานของการแบ่งแยกและการกดขี่
4. เพื่อให้บรรลุวตั ถุประสงค์ในการควบคุมการอพยพ การนําเข้า
จนก่อให้เกิดปญั หา การเลือกปฏิบตั ิ เเรงงานจํานวนมากตกเป็น
เเรงงานอย่างเป็ นระบบ ต้องสามารถป้องกันการทุจริตคอร์รปั ชัน
เหยื่อการค้ามนุษย์และการละเมิดสิทธิมนุษยชนอย่างเป็ น ระบบ
การละเมิดต่อกฎหมาย และสิทธิมนุษยชนแรงงานข้ามชาติ รัฐบาล
วาระครบรอบ 20 ปีของอนุสญ ั ญาว่าด้วยการคุม้ ครองเเรงงานข้าม
ควรกําหนดนโยบายระยะยาว ให้มหี น่วยงานเฉพาะทําหน้าที่
ชาติและครอบครัวและในฐานะประธาน คณะมนตรีสทิ ธิมนุษยชน
บริหารการอพยพย้ายถิน่ อย่างบูรณาการ โดยเปิ ดโอกาสให้
เเห่งสหประชาชาติ จึงเป็ นโอกาสอันดีทป่ี ระเทศไทยจะได้พจิ ารณา
หน่วยงานทีเ่ กีย่ วข้อง ตัวเเรงงานข้ามชาติ นายจ้าง และภาค
ข้อเสนอข้างต้นเพื่อการจัดการ เเรงงานข้ามชาติอย่างเป็ นระบบ
ประชาสังคม เข้ามามีสว่ นร่วมในการกําหนดนโยบายตามเเนวนโย
และเพื่อปฏิบตั ติ ามคํามันของรั
่ ฐบาลในการสง เสริมการมีบทบาท
บายการบริหารเเรงงานทีร่ ฐั บาล ได้ประกาศไว้ ตลอดจนเร่งรัดให้
รวมกับประชาคมโลก เพื่อสงเสริมและคุมครองคานิยม
รัฐบาลพม่าร่วมมือในการแก้ปญั หาอย่างจริงจัง ทัง้ ด้านการิสจู น์
ประชาธิปไตย สิทธิมนุษยชน มนุษยธรรม ตลอดจนรวมมือในการ
สัญชาติ การป้องกันการหลอกลวงแรงงาน และการปราบปราม
แกไขประเด็นปญหาขามชาติทุกดานทีส่ งผลกระทบตอความมันคง ่
การค้ามนุษย์
ของ มนุษย์ต่อไป

บอร์ด ก.พ. ไฟเขียว กม.ตั้ง "สหภาพข้าราชการ"

นายอภิสทิ ธิ ์ เวชชาชีวะ นายกรัฐมนตรี เป็ นประธานการประชุมคณะกรรมการข้าราชการพลเรือน (ก.พ.) ทีส่ าํ นักงานคณะกรรมการ


ข้าราชการพลเรือน เมื่อวันที่ 23 ธันวาคม โดยภายหลังเสร็จสิน้ การประชุม นายอภิสทิ ธิ ์ กล่าวว่า ทีป่ ระชุมเห็นชอบร่างพระราชกฤษฎีกา
(พ.ร.ฎ.) กําหนดหลักเกณฑ์ วิธกี าร และเงื่อนไขในการรวมกลุม่ ข้าราชการพลเรือน พ.ศ.... มีเนื้อหารวม 48 มาตรา จะมีการเสนอร่างเข้าสู่
การพิจารณาของทีป่ ระชุมคณะรัฐมนตรี (ครม.) ต่อไป สาระสําคัญของร่างกฎหมายดังกล่าวจะเป็ นการเปิ ดทางให้ขา้ ราชการสามารถรวม
กลุ่มกันได้ในลักษณะสหภาพ แบ่งออกเป็ น 4 ระดับคือ 1.สหภาพข้าราชการพลเรือน 2.สหภาพข้าราชการระดับกระทรวง 3.สหภาพ
ข้าราชการระดับกรม และ 4.สหภาพข้าราชการระดับจังหวัด

18 << คนทำงำน ธันวำคม 2553


คนทำงำน ธันวำคม 2553 >> 19
ความเคลื่อนไหวแรงงานไทย >>
หอการค้าไม่ห่วงขึน้ ค่าแรงขัน้ ตา่ สถาบันคุณวุฒวิ ชิ าชีพแห่งชาติครัง้ แรกของ อุตสาหกรรมให้มากขึน้ และจะลดต้นทุนได้
ประเทศไทย ซึ่ง เป็ น ไปตามแนวทางการ ในที่สุด พร้อมกับเห็นด้วยกับแนวทางการ
1 ธ.ค. 53 - นายดุ สิต นนทะนาคร
ปฏิ รู ป การศึ ก ษาในทศวรรษที่ 2 ของ ขึน้ ค่าจ้างขัน้ ตํ่าอีก 10-11 บาท ทัวประเทศ

ประธานสภาหอการค้าไทย กล่าวถึง กรณีท่ี
กระทรวง ศึก ษาธิก าร เนื่ อ งจากที่ผ่ า นมา ซึง่ อยู่ระหว่างการพิจารณา เพราะเชื่อว่าจะ
นายกรัฐ มนตรี ระบุ ว่ า จะมี ก ารปรับ ขึ้น
แรงงานไทยประสบกับปญั หาการถูกกีดกัน เป็ นแรงจู ง ใจให้ แ รงงานที่ มี ฝี มื อ เข้ า มา
ค่าแรงงานขัน้ ตํ่า อีก 10-11บาททัวประเทศ

การเข้ า ทํ า งานจาก มาตรการที่ ไ ม่ ใ ช่ ทํา งานมากขึ้น เช่ น เดีย วกับ อุ ต สาหกรรม
ในต้นปี 2554 ว่า ภาคเอกชนไม่เป็ นห่วงการ
มาตรการทางภาษีในตลาดต่างประเทศ อีก ท่ อ งเที่ย วซึ่ง ขณะนี้ มีแ รงงานในส่ ว นของ
ปรับขึ้นค่าแรงงานดังกล่าว หากมีการเพิ่ม ั หาการว่ า งงาน การ
ทัง้ ไทยประสบกับ ป ญ ธุรกิจนํา เทีย่ วทัง้ สิน้ 5 แสนคน แต่มแี รงงาน
ประสิทธิภาพการผลิตให้ดขี น้ึ ควบคุมกัน ซึง่
ขาดแคลนแรงงาน ควบคู่กบั ปญั หาการขาด สายวิ ช าชีพ ไม่ ถึ ง 10 เปอร์ เ ซ็น ต์ ทัง้ ที่ มี
จะเป็ นประโยชน์ ต่ อ ประเทศมากกว่า และ
การเชื่อมโยงตลาดภาคแรงงานกับการศึกษา ความต้องการสูง โดยเฉพาะตําแหน่ งรับจอง
เชื่อว่าคณะกรรมการไตรภาคี คงมีการศึกษา
ในประเทศ ซึง่ รัฐบาลเห็นควรต้องเร่งรัดการ ตั ๋ว และการบริการ โดยขณะนี้ขาดแรงงาน
ผลดีและผลเสีย จากการปรับขึน้ อัตราค่าจ้าง
พั ฒ นาแรงงานที่ มี คุ ณ ภาพแทนการใช้ สายวิช าชีพ ไม่ ต่ํ า กว่ า 2.5 แสนคน หรื อ
แรงงานเป็ นอย่างดีแล้ว ซึ่งในส่วนของภาค
แรงงานราคา ถูก เพื่อเพิม่ ขีดความสามารถ ครึง่ หนึ่งของแรงงานในกลุ่มทัง้ หมด
ธุรกิจ พร้อมดําเนินการตาม ทัง้ นี้ มองว่าการ
การแข่งขันในภาคอุตสาหกรรม โดยขณะนี้
ปรับขึน้ ค่าจ้างแรงงาน จะไม่สง่ ผลกระทบต่อ สหภาพ ขสมก.เล็งชุมนุ มจี้รฐั แก้ ปัญหา
คณะรัฐมนตรีได้อนุมตั หิ ลักการจัดตัง้ สถาบัน
การปรับขึน้ ราคาสินค้า รถเมล์ไม่พอ
คุ ณ วุ ฒิ วิ ช าชี พ แล้ ว และอยู่ ร ะหว่ า งการ
ขณะ ที่ทางด้าน นายพยุงศักดิ ์ ชาติสุทธิผล พิ จ ารณาของสํ า นั ก งานคณะกรรมการ 2 ธ.ค. 53 - นายวีร ะพงศ์ วงแหวน
ประธานสภาอุตสาหกรรมแห่งประเทศไทย กฤษฎีกา เลขาธิ ก ารสหภาพแรงงานรั ฐ วิ ส าหกิ จ
มองว่ า การปรับ ขึ้น ค่ า จ้ า งแรงงาน และ องค์ ก ารขนส่ ง มวลชนกรุ ง เทพ[ขสมก.]
นาง สาวนริศ รา ชวาลตันพิพทั ธ์ รัฐมนตรี
เงิ น เดื อ นข้ า ราชการในปี หน้ า จะไม่ มี เปิ ดเผ ย ว่ า ใ นวั น ที่ 3 ธ .ค . นี้ ค ณะ
ช่ ว ยว่ า การกระทรวงศึก ษาธิก าร กล่ า วว่ า
ผลกระทบต่ออัตราเงินเฟ้อของประเทศ โดย กรรมการบริหารขสมก.จะประชุมด่วน เพื่อ
สถาบันคุณวุฒวิ ชิ าชีพจะเป็ นองค์กรมหาชน
เชื่อว่า รัฐบาลจะดูแลให้อตั ราเงินเฟ้อ อยู่ใน ขอมติในการขอเปิ ดประชุมใหญ่วสิ ามัญ เพื่อ
ในการการัน ตี คุ ณ ภาพของแรงงานสาย
กรอบร้อยละ 3 ได้ ชีแ้ จงให้สมาชิกและพนักงานขสมก.รับทราบ
วิช าชีพ โดยนํ า ร่ อ งในการรับ รองแรงงาน
ั หารถเมล์ ท่ี มี ใ ห้ บริ ก ารไม่
เกี่ ย วกั บ ป ญ
เร่งตัง้ สถาบันคุณวุฒิวิชาชี พเพิ่ มค่าจ้าง สาขากลุ่มอิเล็คทรอนิกส์ ช่างซ่อม แม่พมิ พ์
เพียงพอ ทําให้รายได้ของขสมก.ลดลงอย่าง
10% ยานยนต์ แ ละไฟฟ้ า เนื่ องจากป จั จุ บ ั น
ต่อเนื่อง
อุตสาหกรรมในกลุ่มเหล่านี้ ขาดแรงงานสาย
1 ธ.ค. 53 - นายอภิสทิ ธิ ์ เวชชาชีวะ
วิชาชีพรวม 2 แสนคน ในอีก 5 ปี ข้างหน้า ประกอบกับ ที่ ผ่ า นมา ได้ ข อเข้ า พบนาย
นายกรัฐมนตรี เป็ นประธานเปิ ดงานสัมมนา
โดยนัก ศึก ษาสายวิช าชีพ จะต้องผ่ า นการ ไตรรงค์ สุวรรณคีรี รองนายกรัฐมนตรี ใน
เรื่อง "ทิศทางคุณวุ ฒวิ ิชาชีพแรงงานไทยสู่
รับรองของสถาบันนี้ ซึ่งจะมีหลักสูตรอบรม ฐานะประธานคณะกรรมการฟื้ น ฟู ขสมก.
สากล" พร้ อ มกล่ า วปาฐกถาพิเ ศษหัว ข้อ
ทัก ษะ ความรู้ค วบคู่ ตัง้ เป้ า เพิ่ม ค่ า จ้า งให้ แต่ ปรากฏว่า ไม่ เคยได้พ บ และติดภารกิจ
"นโยบายรัฐบาลกับ ทิศ ทางคุณวุ ฒิวิชาชีพ
แรงงานในสายวิช าชีพ อีก 10 เปอร์เ ซ็น ต์ เรื่อยมา ดังนัน้ สหภาพขสมก.จะขอมติคณะ
แรงงานไทย" โดยกล่าวว่า รัฐบาลจับมือกับ
คาดว่า จะเริม่ ดําเนินการได้ตน้ ปี หน้า กรรมการฯเพื่ อ เปิ ด ประชุ ม ใหญ่ แ ละจะ
คณะกรรมการร่ ว มสถาบัน ภาคเอกชน 3
เคลื่อ นไหวในการผลัก ดัน และเร่ ง รัด การ
สถาบัน คือ สภาหอการค้าแห่งประเทศไทย ด้านตัวแทนภาคเอกชน 3 สถาบัน ก็ขานรับ
แก้ไขปญั หารถเมล์ไม่เพียงพอด้วย
สภาอุ ต สาหกรรมแห่ ง ประเทศไทย และ การจัดตัง้ สถาบันนี้ แม้ว่าจะต้องมีการปรับ
สมาคมธนาคารไทย ผลัก ดั น การจั ด ตั ้ง ขึน้ ค่าจ้าง แต่เชื่อว่าจะส่งผลต่อผลผลิตทาง แฉขาดแรงงานระดับกลางรุนแรง

20 << คนทำงำน ธันวำคม 2553


3 ธ.ค. 53 - ทีโ่ รงแรมรอยัลริเวอร์ กรุงเทพฯ "โดยสภาพการณ์ ทุกวันนี้ผู้ท่เี รีย น จบสาย แต่งงานแล้วเลือกทีจ่ ะมีลกู เพียงคนเดียวและ
สํานักงานเลขาธิการสภาการศึกษา (สกศ.) วิชาชีพระดับประกาศนียบัตรวิชาชีพ (ปวช.) อีก 30% มีลกู 2 คน
จัด การประชุ ม เรื่ อ ง "การ พัฒ นากรอบ และระดับ ประกาศนี ย บัต รวิ ช าชีพ ชัน้ สู ง
จาก ข้อมูลนี้สะท้อนให้เห็นว่าค่าแรง ขัน้ ตํ่า
มาตรฐานคุณวุฒแิ ห่งชาติ และวางแผนผลิต (ปวส.) ประมาณ 75% จะเข้า เรีย นต่ อ ใน
ไม่สอดคล้องกับความเป็ นอยู่ ทีแ่ ท้จริง ไม่ได้
และพัฒ นากํ า ลัง คนตามกรอบมาตรฐาน ระดับปริญญาตรี และมีเพียง 25% จะ เข้าสู่
สะท้อนภาพชีวติ ผู้ใช้แรงงาน คสรท.ยืนยัน
คุ ณ วุ ฒิแ ห่ ง ชาติ " โดยนายถาวร ชลัษ เฐีย ตลาดแรงงาน จึงทําให้เกิดสภาพความขาด
ว่าอัตราค่าแรงทีม่ คี ุณภาพชีวติ ทีด่ ไี ด้ต้องอยู่
รรองเลขาธิ ก ารสภาอุ ต สาหกรรมแห่ ง แคลนแรงงานในระดับ กลางรุ น แรงมาก
ที่ 421 บาท/วัน การที่ค่ า แรงตํ่ า จนคนไม่
ประเทศไทย กล่ า วว่ า ในป จั จุ บ ัน ความ นอกจากนี้ หลายสถานประกอบการยังต้อง
กล้า แต่ ง งานมีลู ก จะส่ ง ผลต่ อ อนาคตของ
ต้องการแรงงานในกลุ่มอุตสาหกรรมต่างๆ มี สูญเสียแรงงานฝี มอื ดีๆ ไปจํานวนมากด้วย
กําลังแรงงานใน อนาคตเพราะกําลังแรงงาน
จํานวนมากเช่น ความต้องการแรงงานใน 6 เพราะคนเหล่านี้ต้องการออกไปเรียนต่อใน
ก็จะมีน้อยลงในอนาคต
กลุ่ ม อุ ต สาหกรรมหลัก มีจํ า นวนประมาณ ระดับปริญญาตรี" นายถาวรกล่าว
1.29 ล้านคนและในปี พ.ศ.2558 จะมีความ “วันที่ 9 ธ.ค. คณะกรรมการค่าจ้างกลางจะมี
ด้ า น น า ง ศิ ริ พ ร ร ณ ชุ ม นุ ม ที่ ป รึ ก ษ า
ต้องการแรงงานประมาณ 1.5 ล้าน คน ซึ่ง การพิจารณาปรับขึน้ ค่าจ้าง จากแนวโน้มคง
ผู้ทรงคุณวุฒิใน สกศ. กล่าวว่า จากการทํา
จะต้ อ งมีก ารผลิต นัก ศึก ษาในสายวิช าชีพ ปรับ ที่ 10 บาทซึ่ง เราคิด ว่ า ยัง ไม่ ส ะท้ อ น
วิจยั เรื่องการพัฒนากรอบมาตรฐานคุณวุฒิ
ออกมาให้เ พีย งพอ ในขณะเดีย วกัน การ ความเป็ น จริ ง ในการใช้ ชี วิ ต อยู่ ดี อี ก ทั ง้
แห่ ง ชาติ (National Qualification
ผลิตบัณฑิตในระดับปริญญาตรีควรจะต้อง ค่าแรงยังมีความเหลื่อมลํ้ากันสูงมากทีก่ ทม.
Framework)และ วางแผนผลิต และพัฒ นา
ปรับลดลงเนื่องจากในปจั จุบนั ความ ต้องการ ค่ า แรง 206 บาท/วัน ขณะที่พ ะเยา แพร่
กําลังคนตามกรอบมาตรฐานคุณวุฒแิ ห่งชาติ
แ ร ง ง า น ที่ จ บ ร ะ ดั บ ป ริ ญ ญ า ต รี ใ น น่ าน พิจติ ร ตากมีค่าแรงแค่ 151-152 บาท/
เพื่อให้มีก ารขับเคลื่อนการผลิตและพัฒนา
ตลาดแรงงานมีรวมประมาณ 11% เท่านัน้ วัน ดัง นั น้ ขอให้พิจ ารณาตัว เลขที่ส ะท้อ น
กํ า ลั ง คนตามกรอบคุ ณ วุ ฒิ แ ห่ ง ชาติ นั ้น
ในขณะทีป่ ระเทศไทยมีสถาบันอุดมศึกษาที่ คุณภาพชีวติ แรงงานและมีค่าจ้างที่เท่า กัน
จะต้องกําหนดเป็ นยุทธศาสตร์หลักๆ อาทิ
เปิ ดสอนระดับปริญญาตรีมากมายกว่า 200 ทัวประเทศ”น.ส.วิ
่ ไลวรรณกล่าว
การให้กรอบคุณวุฒแิ ห่งชาติเป็ นข้อกําหนด
สถาบัน และล่าสุด ทางรัฐบาลก็ยงั มีนโยบาย
แห่งชาติในการปฏิรูปการศึกษา การพัฒนา ส่ ว น ที่ น า ย อ ภิ สิ ท ธิ ์ เ ว ช ช า ชี ว ะ
ทีจ่ ะจัดตัง้ 1 มหาวิทยาลัย 1 จังหวัด เพิม่ ขึน้
ความร่ ว มมือ เชิง รุ ก กับ กลุ่ ม อุ ต สาหกรรม
นายกรัฐ มนตรีเ คยประกาศนโยบายปรับ
อี ก ซึ่ ง หา กทิ ศ ท างการศึ ก ษา ยั ง ผลิ ต
ค่าจ้างขัน้ ตํ่าเป็ น 250 บาท/วัน นัน้ คสรท.
ธุ ร กิจ และบริก ารกลุ่ ม วิช าชีพ การพัฒ นา
นั ก ศึก ษาในระดับ ปริญ ญาตรีอ อกมามาก
ขอเรีย กร้องให้ป ฏิบ ัติต ามคํา พูดด้ว ย อย่ า
หลัก สูต รให้ส อดคล้อ งกับ ขอบเขตความรู้
เช่ น นี้ สุด ท้า ยแล้ว ประเทศไทยจะได้อ ะไร
เปลีย่ นไปเปลีย่ นมาจนเป็ นทีผ่ ดิ หวังของผูใ้ ช้
ทักษะ และการประยุกต์ใช้ความรู้ เป็ นต้น
เพราะทุ ก วั น นี้ บ ั ณ ฑิ ต ที่ เ รี ย นจบระดั บ
แรงงาน เพราะถ้า นายกฯพูด แล้ว ทําไม่ ไ ด้
ป ริ ญ ญ า ต รี เ ข้ า ไ ป ทํ า ง า น ใ น ส ถ า น สาวโรงงานไม่กล้าแต่งงานกลัวรายได้ไม่
หลัง จากนี้ จ ะหวัง อะไรจากคนที่เ ป็ น ผู้ นํ า
ประกอบการ หลายๆ แห่ ง จะต้ อ งลดวุ ฒิ พอเลี้ยงลูก
ประเทศ ได้อกี
การศึกษามาทํางานระดับวุฒกิ ารศึกษาทีต่ ่ํา
7 ธ.ค. 53 - น.ส.วิไลวรรณ แซ่เตีย ประธาน
กว่ า เนื่ อ งจากไม่ มีท างเลือ กเพราะงานที่ 7 แรงงานไทยกลับจากลิ เบียรอดพ้นขุม
คณะกรรมการสมานฉันท์แรงงานไทย (คส
เท่ากับวุฒไิ ม่มี อย่างไรก็ตาม ตนเสนอว่าใน นรกกลับสู่บ้านเกิ ดแฉความอัปยศ
รท.) เปิ ดเผยว่าจากการสํารวจแรงงานหญิง
การผลิตบัณฑิตระดับปริญญาตรีควรจะเน้น
ในภาคอุตสาหกรรมสิง่ ทอพบว่ามี 10% ทีไ่ ม่ 7 ธ.ค. 53 - ความคืบหน้าปญั หาแรงงาน
สายวิทยาศาสตร์และ เทคโนโลยีมากกว่ า
กล้าแต่งงานเพราะเกรงว่ารายได้ประจําวัน ไทยในประเทศลิเบีย ล่าสุด เมื่อวันที่ 6 ธ.ค.
สายสัง คมที่ผ ลิต กัน ออกมามากจนเกิน ไป
จะไม่เพียงพอสําหรับการเลีย้ งดู ลูกซึง่ ทําให้ 53 ผู้ส่อื ข่าวรายงานว่ ากลุ่มแรงงานไทย 7
แล้ว
มี ค่ า ใช้ จ่ า ยเพิ่ ม มากขึ้ น อี ก 50% เมื่ อ คนได้ ร ับ การส่ ง ตัว กลับ ประเทศไทยตาม
ความต้องการแล้วเมื่อวันที่ 3 ธ.ค.ที่ผ่านมา

คนทำงำน ธันวำคม 2553 >> 21


อี ก ทั ง้ ได้ รี บ รุ ด มาขอบคุ ณ และขอความ กลับมาทํางานที่บ้าน เรา ได้อยู่ใกล้ลูกเมีย ส.ว.ขอเพิ่ มประกั น บ.ส่ ง แรงงานไป
ช่วยเหลือจาก "นสพ.สยาม รัฐ" ตีแผ่ความ ด้วย จึงได้รอ้ งเรียนมายัง นสพ.สยามรัฐ ซึ่ง ต่างประเทศ
เดือ ดร้ อ นของแรงงานไทยในลิเ บีย ต่ อ ไป ขอขอบคุณ นสพ.สยามรัฐทีท่ ําให้พวกผมไม่
8 ธ.ค. 53 - นาย สุวศิ ว์ เมฆเสรีกุล ส.ว.
หลังจากพวกเขาไปทํางานลิเบียผ่านบริษัท ต้อ งทนทุ ก ข์ย ากได้ก ลับ มาบ้า น" แรงงาน
ส มุ ท ร ส า ค ร ใ น ฐ า น ะ ป ร ะ ธ า น
จัด หางานเงิน และทองพัฒ นาจํ า กัด โดย ลิเบียระบายความอัดอัน้ ตันใจและว่า ความ
คณะกรรมาธิการ (กมธ.) การแรงงานและ
ทํ า ง า นกั บ น า ย จ้ า ง บ ริ ษั ท แ ร นฮิ ล ล์ ทุกข์ยากการกินการอยู่ไม่ดอี ย่างไรก็เป็ นไป
สวัสดิการสังคม วุฒสิ ภา กล่าวถึงปญั หาการ
(RANHILL) แล้ว เงินเดือนค่าจ้างไม่ได้รบั ตามข่าวทีน่ สพ.สยามรัฐนําเสนอ ไปแล้ว ซึง่
ขาดแคลนแรงงานภายในประเทศว่า ปจั จุบนั
ตรงตามที่บ ริ ษั ท นายจ้ า งระบุ เ อาไว้ ก่ อ น ในวัน พุ ธ ที่ 8 ธ.ค.นี้ ก็จ ะร่ ว มเป็ น ตัว แทน
มีท่าทีว่าจะขาดแคลนแรงงานมากขึน้ ในทุก
เดินทาง อีกทัง้ มีการเปลีย่ นแปลงสัญญาจ้าง แรงงานไปร้องทุกข์กบั คณะกรรมาธิการการ
สาขาอาชี พ เนื่ องจากเศรษฐกิ จ ไทยมี
ใหม่ ท่ีถู ก เอารัด เอาเปรีย บ และชีวิต ความ แรงงาน สภาผู้แ ทนราษฎร เพื่อ ยืน ยัน ถึง
แนวโน้มที่ดขี น้ึ เรื่อย ๆ โดยเฉพาะภาคการ
เป็ น อยู่ แ ร้น แค้ น วัน หนึ่ ง เดิน ทางกลับ ไป ความเดือดร้อนที่ได้รบั และขอให้ช่วยเหลือ
ส่ง ออก ตนเห็น ด้ว ยที่ร ัฐบาลจะเพิ่ม อัต รา
กลับมาไซต์งานระยะ 3-6 กิโลเมตร ขณะที่ เอาค่าตั ๋วเครื่อง บินและค่าหัวคิวคืนด้วย
ค่า จ้า งแรงงานขัน้ ตํ่ า สํา หรับ การแก้ปญั หา
ต้ อ งกู้ ห นี้ ยื ม สิ น จ่ า ยค่ า หั ว คิ ว รายหนึ่ ง
ด้า นนายทิน กร โคตรภู ธ ร ชาว อ.ละหาน แรง งานที่ไ ปทํ า งานต่ า งประเทศและถู ก
มากกว่าแสนบาทซึง่ แรงงานไทย ไซต์งานนี้
ทราย จ.บุรรี มั ย์ กล่าวยืนยันความเดือดร้อน บริษัทนายหน้ า เอาเปรีย บหรือ โกงเงิน ซึ่ง
มีป ระมาณ 1,400 คน และต่ า งคนก็อ ยาก
เหมือ นแรงงานรายอื่น ๆ โดยตนเองเสีย กมธ. พบเป็ นประจําและเกิดขึน้ มานานแล้ว
กลับบ้านเกิด
ค่าหัวคิว 1.55 แสนบาท นายจ้างบอกก่อน แม้ ว่ า กฎหมายจะกํ า หนดให้ บ ริ ษั ท ที่ ส่ ง
นายบุ ญเริ่ม คงเนีย ม ชาว ต.คัน โซ้ง อ.วัด ไปว่าเงินเดือนไม่ต่ํากว่า 2.5 หมื่นบาท แต่ คนงานไปต่ า งประเทศต้ อ งมีเ งิ น ประกัน
โบสถ์ จ.พิษ ณุ โลก 1 ใน 7 แรงงานที่ก ลับ เอาจริงๆ ได้แค่ 1.2 หมื่นบาท ค่าโอทีไม่มี จํา นวน 5 ล้า น บาท เพื่อ เป็ น หลัก ประกัน
ประเทศไทย เปิ ดเผยว่า พวกตนอยากกลับ คนงานจึงอยากกลับบ้านมาก หากให้กลับ และจ่ายชดเชยให้คนงานกรณีเกิดปญั หากับ
ประเทศไทยนานแล้ว แต่บริษัทนายจ้างไม่ โดยทีไ่ ม่หกั เงินเดือนเป็ นค่าตั ๋วเครื่องบินแล้ว บริษัทแต่กไ็ ม่ เพียงพอเมื่อเทียบกับจํานวน
ยอมให้กลับ ตนก็อดทนทําเรื่องขอกลับ 3-4 คนงาน 1.4 พันคน คงขอกลับ กัน หมด ซึ่ง เงินทีแ่ รงงานเสียไป จึงเห็นว่ารัฐบาลจะต้อง
เดือน จึงได้กลับมา แต่ต้องถูกหักเงินเดือน3 ตนอยากให้ก รรมาธิก ารการแรงงานช่ ว ย เพิ่ ม วงเงิ น ประกั น ของบริ ษั ท เพื่ อ รั ก ษา
เดือน เป็ นค่าเครื่องบินตกคนละ 7 หมื่นบาท เรียกร้องเรื่อ งค่าตั ๋วเครื่องบินและค่าหัวคิว ผลประโยชน์ของ แรงงานไทย
โดยนายจ้า งไม่ มีเ อกสารเป็ น ลายลัก ษณ์ คืน
เหยื่อแรงงานลิ เบี ย บุกยื่ นข้อมูล 'กมธ.'
อักษรอะไรชัดเจนเลยว่าหักค่าอะไรเท่า ไหร่
"ตัง้ แต่ นสพ.สยามรัฐ นํ า เสนอข่ า วความ มัดบริษทั นายหน้ า เล่นวิ ชามารป้ ายสี
บ้าง
เดือดร้อนแรงงานไทยในลิเบีย ทางนายจ้าง
"ผมไปทํางานเดือน ม.ค.53 ต่อมาไม่กเ่ี ดือน ได้ ป รั บ ปรุ ง บางอย่ า งดี ข้ึ น บ้ า ง เช่ น ขึ้ น 8 ธ.ค.53 - ผู้ส่อื ข่าวรายงานว่าตัวแทน
ก็อยากกลับไทย เพราะสภาพการเงินไม่ ดี เงินเดือนให้นิดหน่ อย เปิ ดให้มกี ารทํางานโอ แรงงานไทยทีก่ ลับจาก ไปทํางานในประเทศ
ก่ อ นไป บริษัท จัด หางานบอกว่ า จะได้ร ับ ทีหรือจัดรถรับ-ส่งคนงานไปไซต์งาน แต่ กม็ ี ลิเ บีย ผ่ า นบริษัท จัด หางานเงิน และทอง
เงินเดือนอย่างน้อย 2.5 หมื่นบาท ไม่รวมค่า แค่รถบรรทุก 4 คัน ส่วนคนงานทัง้ ไทยและ พัฒ นา จํา กัด ส่ง ไปยัง บริษัท นายจ้า งแรน
โอที แต่ พ อไปแล้ว ได้เ งิน เดือ นแค่ 1 หมื่น ต่ างประเทศมีเป็ น 4 พัน คน รวมทัง้ มีการ ฮิลล์(RANHILL)ไซต์งานเมืองพาจูลีจํานวน
กว่าบาท โอทีกไ็ ม่มี ซึง่ นับว่าน้อยมากไม่พอ จัดเลีย้ งอาหารแจกของชําร่วยระบุว่าคนงาน 3 คน ได้เ ดิน ทางเข้า พบ นายสถาพรมณี
ค่าใช้จ่าย ไม่พอดอกเบี้ยเงินกู้มาเสียค่าหัว ไทยทํา งานได้เ กิน เป้ า หมายจึง ได้ร ับ การ รัต น์ ส.ส.ลํ า พู น พรรคเพื่อ ไทย ในฐานะ
คิว 1.3 แสน บาท หากทํ า งานในประเทศ ขอบคุณ ซึง่ ไม่รวู้ ่าเป็ นการจัดฉากสร้างภาพ ประธานคณะกรรมาธิการการแรงงาน สภา
ไทยเดือ นหนึ่ ง ได้ม ากกว่ า นั น้ ด้ว ย อีก ทัง้ โชว์ว่าดีหรือเปล่า" ผู้แ ทนราษฎร พร้อ มยื่น หนั ง สือ ร้อ ง ทุ ก ข์
เงินเดือนล่าช้าไม่ตรง ผมได้เล่าเรื่องความ เพิ่ ม เติ ม และชี้ แ จงยื น ยั น ป ัญ หาความ
ทุ ก ข์ย ากให้ภ รรยาฟ งั และภรรยาอยากให้ เ ดื อ ด ร้ อ น ข อ ง แ ร ง ง า น ไ ท ย ต่ อ ค ณ ะ

22 << คนทำงำน ธันวำคม 2553


กรรมาธิ ก ารการแรงงาน อาทิ เ งิ น เดื อ น แรงงานด้วยความกระตือรือร้นเอาใจใส่อย่าง คนงานบริดจสโตนร้องค่าแรง
ค่าจ้างน้ อยกว่าที่บริษัทนายจ้างระบุเอาไว้ ดีม าก โดยท่ า นจะหารือ ว่ า จะช่ ว ยเหลือ
9 ธ.ค. 53 - ผู้ส่อื ข่าวรายงานจาก จ.
ก่อนเดินทางไป, มีการเปลีย่ นแปลงสัญญา อย่ า งไรต่ อ ไป ซึ่ง ทางตัว แทนแรงงานใน
ปทุ มธานี ว่า ที่ห น้ า โรงงาน บริษัท ไทยบ
จ้างผิดไปจากที่ทําไว้ในประเทศไทย, การ ลิเบียต้องขอขอบพระคุณอย่างสูง
ริดจสโตน จํากัด เลขที่ 14/3 ถ.พหลโยธิน
ทํ า งานเกิน สัญ ญาจาก 8 ชัว่ โมง เป็ น 10
"ผมเป็ น 1 ใน 7 แรงงานลิเบีย ทีเ่ พิง่ กลับมา ต.คลองหนึ่ ง อ.คลองหลวง จ.ปทุ ม ธานี มี
ชัวโมง
่ โดยไม่มีค่า ล่วงเวลา(โอที), ชีวิต
วันที่ 3 ต.ค.53 หลังจากภรรยาอยากให้กลับ กลุ่ ม คนงานของสหภาพแรงงานไทยบ
ความเป็ นอยู่ไม่ดี เป็ นต้น ตามทีม่ กี ารเสนอ
เพราะเงินได้รบั น้อยทํางานที่บ้านและทําไร่ ริดจสโตนจํานวนมาก ปิ ดหน้ าโรงงานเพื่อ
ข่าวอย่างต่อเนื่องนัน้
ทํานายังดีกว่า ตอนนี้ภรรยาดีใจมาก"เหยื่อ ประท้วงนายจ้างกรณีการเจรจาข้อเรียกร้อง
ต่อมา นายบุญเริ่ม คงเนียม ชาวต.คันโซ้ง แรงงานลิเบีย กล่าว ประจํ า ปี 2553 ไม่ ส ามารถตกลงกั น ได้
อ.วัดโบสถ์ จ.พิษณุโลก เปิ ดเผยภายหลังเข้า หลังจากมีการเจรจากันถึง 7 ครัง้ และมีการ
ด้า นนายชัย ชนะกร ประเคน ชาว อ.โพน
พบกรรมาธิการการแรงงาน ว่า ได้เข้าชีแ้ จง ไกล่ เ กลี่ ย กั น ที่ แ รงงานสั ม พั น ธ์ แต่ ท ั ้ง
พิสยั จ.หนองคาย เหยื่อแรงงานในลิเบียอีก
และยื่นหนังสือยืนยันปญั หาแรงงานไทยกับ นายจ้างและลูกจ้างก็ตกลงกันไม่ได้ จึงเกิด
ราย กล่าวว่า ขอขอบคุณคณะกรรมาธิการ
บริษัทนายจ้างแรนฮิลล์ เป็ นความจริง โดย ข้อพิพาทแรงงานและมีการประท้วงนัดหยุด
การแรงงานที่กระตือรือร้นในการแก้ปญั หา
แรงงานไซต์ น้ี กว่ า 1,200 คน มี ค วาม งานเกิดขึน้ โดยมีเจ้าหน้าทีต่ ํารวจสภ.คลอง
แรงงานลิเ บีย ซึ่ง ต่ อ ไปคงต้ อ งรอว่ า ทาง
ประสงค์ อ ยากเดิน ทางกลับ ประเทศไทย หลวงมาดูแ ลความสงบ และอํา นวยความ
กรรมาธิการจะดําเนินการอย่างไร
เพราะเงินเดือนค่าจ้างน้อยไม่ตรงตามทีบ่ อก สะดวกให้กบั ผู้ใช้รถใช้ ถ.พหลโยธินด้านขา
ไว้ก่อนเดินทางไป ทําให้ทุกคนรายได้ไม่พอ "สําหรับผมกลับมาไทยวันที่ 17 พ.ย.ที่ ผ่าน เข้า กรุง เทพฯ ส่งผลให้การจราจรชะลอตัว
ค่าใช้จ่ายค่ าหนี้สนิ หากทํางานในประเทศ มา แต่ ก ลับ บ้า นไม่ ไ ด้ เพราะแม่ ย ายและ และติดขัดเป็ นบางช่วง
ไทย ยังได้อยู่ใกล้บ้านช่วยภรรยาและได้รบั ภรรยาไม่ให้เข้าบ้าน โดยเข้าใจผิดคิดว่าผม
นาย บุ ญ เลิศ ดาบุ ต รดี ประธานสหภาพ
ความ อบอุ่นกับลูกๆ และญาติพน่ี ้องยังจะได้ ได้ ร ั บ เงิ น เดื อ นค่ า จ้ า งมากตามที่ ส าย
แรงงานไทยบริดจสโตน กล่าวว่า หลังจากที่
ดีกว่า นายหน้าบอกก่อนไป ว่าได้เดือน 4-5 หมื่น
ตัวแทนสหภาพแรงงานยื่น ข้อเรียกร้องต่ อ
บาทแต่พอไปแล้วได้ไม่ถึง ไม่ มีโอที พอส่ง
"แม้แรงงานอยากกลับบ้านเกิดเมืองนอน แต่ บริษั ท และมีก ารเจรจากับ นายจ้ า ง ซึ่ง มี
เงินให้ทางบ้านก็ไม่พอใจหาว่าเราไปใช้จ่าย
เนื่องจากแรงงานส่วนใหญ่ยงั ทํางานไม่ครบ นายสมชาย เฟื้ อ งแดงกรรมการผู้จ ัด การ
นอกลู่นอกทาง ทัง้ ๆ ที่ขอ้ เท็จจริงเราไม่ได้
สัญญา 2 ปี บริษัทไม่มนี โยบายให้เดินทาง เป็ นตัวแทน แต่ไม่สามารถตกลงข้อเรียกร้อง
เงิน มากอย่ า งนั น้ ถ้ า จะกลับ มาก็โ ดนหัก
กลับ หากใครขอเดิน ทางกลับ ต้ อ งเขีย น กันได้ ในทีส่ ดุ จึงเกิดข้อพิพาทแรงงานกันขึน้
เงินเดือน5 หมื่นบาทอีกต่างหาก"
เหตุ ผ ลบิด เบือ นข้อ เท็จ จริง อย่ า พาดพิ ง ส่ ว นกรณี ท่ีมีก ารปิ ด หน้ า โรงงานนั น้ ทาง
บริษัท นายหน้ า หรือ บริษัท นายจ้า งในทาง เหยื่ อ แรงงานลิ เ บี ย กล่ า วอี ก ว่ า เกื อ บ1 สหภาพแรงงานไม่ มี น โยบายที่ จ ะให้ ทํ า
เสียหาย กลัวเสียประวัตแิ ละภาพลักษณ์หรือ เดือน แล้ว ทีร่ ะหกระเหินเร่ร่อนไปพักอาศัย เช่นนัน้ แต่เป็ นความกดดันของคนงานทีต่ ก
ถูกทางราชการเอาผิด จึงบีบให้เขียนขอกลับ อยู่บ้านเพื่อน กลับบ้านไม่ได้ มิหนํ าซํ้าทาง ลงข้อเรียกร้องไม่ไ ด้ตามที่เ ขาต้องการ คง
อย่างสวยหรู อ้างเหตุผลส่วนตัว และบริษัท บริษทั นายหน้าได้ใส่รา้ ยป้ายสีตน เพราะตน ต้องพยายามหาข้อยุติให้ได้ แม้ว่าจะสร้า ง
นายจ้า งจะหัก เงิน เดือ นค่ า จ้า ง 3-4 เดือ น เรีย กร้อ งเงินเดือนค่าจ้างและการทํางานที่ ความเดือดร้อนให้กบั ผู้ใช้ถนนต้องขอโทษ
ประมาณ6-7 หมื่น บาท เอาไว้เ ป็ น ค่ า ตัว๋ ถู ก ต้ อ งกับ ตํ า แหน่ ง ตัง้ แต่ อยู่ ลิเ บีย โดน ด้วย
เครื่องบิน ดังนัน้ แรงงานส่วนใหญ่จงึ จํายอม นายจ้างโทรศัพท์ มาฟ้องภรรยาและแม่ยาย
ยอดแรงงานนอกระบบทะลุ 24 ล้านคน
อดทนทํางานเพราะเสียดายเงินค่าเครื่องบิน" บอกว่าตนหัวแข็งไม่ทาํ งาน จึงถูกส่งตัวกลับ
ั หา
นายบุ ญ เริ่ม กล่ า วและว่ า เรื่อ งราวป ญ ทัง้ ที่ข อกลับ มาเอง ซึ่ง เป็ น สาเหตุ ใ ห้เ กิด 10 ธ.ค. 53 - ผูส้ ่อื ข่าวรายงานจากทําเนียบ
ความเดือดร้อนได้รบั การตอบสนองเหลียว ความเข้าใจผิดจนภรรยาไม่ยอมพูดด้วย รัฐบาลว่า สํานักงานสถิตแิ ห่งชาติ ได้สาํ รวจ
แลจากนายสถาพรและคณะ กรรมาธิการการ สถานการณ์ แ รงงานนอกระบบปี 2553
คนทำงำน ธันวำคม 2553 >> 23
พบว่ า มีท ัง้ สิ้น 24.1 ล้า นคน หรือ 62.3% หน้ า โรงงาน พื้น ที่ ต.คลองหนึ่ ง อ.คลอง สําหรับค่าจ้างหลังปรับแล้วของ จังหวัดต่าง
ของแรงงานทัง้ หมดที่มีอ ยู่ 38.7 ล้ า นคน หลวง จ.ปทุมธานีเมื่อเวลา 11.00 น. วันที่ ๆ เช่น กทม.และปริมณฑล วันละ 215 บาท
และพบว่ า แรงงานนอกระบบทํา งานอยู่ใ น 10 ธั น วาคม ที่ โ รงงาน บริ ษั ท ไทยบ ชลบุ รี 196 บาท นครราชสีม า 183 บาท
ภาคเกษตรกรรมถึง 14.5 ล้านคน หรือ 60% ริดจสโตน จํากัด เลขที่ 14/3 ถนนพหลโยธิน เชียงใหม่ 180 บาท นครศรีธ รรมราช 174
ขณะที่ อ ยู่ ใ นภาคการค้ า และการบริ ก าร ขาเข้ากรุงเทพฯ ต.คลองหนึ่ง อ.คลองหลวง บาท ประจวบคีรีข ัน ธ์ -สุ ร าษฎร์ ธ านี 172
31.4% และภาคการผลิต 8.6% ส่ ว นใหญ่ จ.ปทุมธานี เพื่อเรียกร้องเงินโบนัสเพิม่ ทํา บาท กาญจนบุรี 181 บาท
แ รง ง า นนอ กระ บ บ ทํ า ง า นอยู่ ใ นภ า ค ให้การจราจรติดขัดอย่างต่อเนื่อง
แรงงานพม่ากว่ าพันรณรงค์วนั แรงงาน
ตะวั น ออกเฉี ย งเหนื อ มากที่ สุ ด 41.6%
ต่อมาตัวแทนผูบ้ ริหารบริษทั รับปากจะ เพิม่ ข้ามชาติ สากล
รองลงมาเป็ นภาคเหนือ 21.3% ภาคกลาง
เงิ น โบนั ส ให้ ต ามที่ ค นงานเรี ย กร้ อ ง แต่
18.8% ภาคใต้ 12.9% ส่วน กทม.มีแรงงาน 18 ธ.ค. 53 - แรงงานพม่าในอําเภอแม่สอด
เนื่องจากบริษทั ยังยืนยันจะเอาผิดกับคนงาน
นอกระบบน้อยทีส่ ดุ 5.4% จังหวัดตาก กว่า 1,000 คน ต่างเดินทางไป
ทีช่ ุมนุ มปิ ดทางเข้าออกบริษทั ทําให้คนงาน
รวมตัว กัน ที่ว ัด แม่ ส อดหน้ า ด่ า น หรือ วัด
นอกจากนี้ ยังพบอีกว่า แรงงานนอกระบบที่ บางส่ ว นยัง ชุ ม นุ ม ต่ อ แต่ ย้ า ยการชุ ม นุ ม
หลวง เขตเทศบาลนครแม่สอด เพื่อจัดรูป
จบการศึกษาระดับประถมศึกษาและรวมที่ ขึน้ มาบนฟุ ตปาธบริเวณหน้าโรงงาน ส่งผล
ขบวน และแจกเอกสารต่างๆ จากนัน้ ได้ออก
ตํ่ า กว่ า ระดับ ประถมศึก ษา มีม ากที่สุ ด ถึ ง ให้การจราจรด้านหน้าโรงงานคล่องตัวขึน้
เดิน ทางไปตามถนนสายต่ า งๆ โดยกลุ่ ม
15.9 ล้ า นคน หรื อ 65.9% รองลงมาจบ
ครม.อนุมตั ิ ปรับขึน้ ค่าจ้างขัน้ ตา่ แรงงานชาวพม่ า ได้ ใ ช้ ว งดุ ริ ย างค์ ข อง
มัธยมศึกษา 6.5 ล้านคน หรือ 26.8% และ
โรงเรียนในพื้นที่นําหน้าขบวน และมีขบวน
ระดับอุดมศึกษา 1.7 ล้านคน หรือ 7.1 % 14 ธ.ค. 53 -นาย วัช ระ กรรณิ การ์ รอง
ของแรงงานพม่ า ตาม ทัง้ นี้ เ นื่ อ งจากวัน
โดย แรงงานนอกระบบเป็ นผูม้ กี ารศึกษาใน โฆษกประจําสํานักนายกรัฐมนตรี กล่าวว่า
แรงงานข้ามชาติสากล โดยแรงงานชาวพม่า
ระดับทีไ่ ม่สงู มากนักเมื่อเทียบกับแรง งานใน ที่ ป ระชุ ม ครม .เห็ น ชอบตามข้ อ เสนอ
ต่างถือป้ายผ้า เขียนด้วยข้อความต่างๆ เช่น
ระบบ ดังนัน้ หน่ วยงานหลักทีเ่ กีย่ วข้องควร กระทรวงแรงงานในการพิจ ารณาประกาศ
แรงงานทุกคนต้องได้รบั สิทธิเท่าเทียมกัน ,
ส่งเสริมสนับสนุ นการศึกษาแก่แรงงานนอก ค่ า จ้ า งแ รง ง านขั ้น ตํ่ า ใ ห้ มี ผ ลวั น ที่ 1
ขอบคุ ณชาวอํา เภอแม่ สอด ที่เ ปิ ด พื้น ที่ใ ห้
ระบบ เพื่ อ เพิ่ ม ศั ก ยภาพและยกระดั บ มกราคม 2554 โดย รัฐมนตรีแรงงานชี้แจง
ทํา งาน , สิท ธิแ รงงานข้ามชาติคือ สิท ธิ
สถานภาพการทํางานของแรงงานนอกระบบ ในทีป่ ระชุมว่า การพิจารณาปรับเพิม่ ค่าจ้าง
ั หา แรงงานขั น้ ตํ่ าได้ ทํ า ตามขั น้ ตอน จาก มนุ ษ ยชน และแรงงานข้า มชาติร่ ว มสร้า ง
ให้ ดี ข้ึ น และภาครั ฐ ควรช่ ว ยแก้ ป ญ
เศรษฐกิจไทยให้เติบโต เป็ นต้น
ค่าตอบแทนน้อยมีจํานวนถึง 48.5% อันดับ อ นุ ก ร ร ม ก า ร ร ะ ดั บ จั ง ห วั ด จ น ถึ ง
สองได้แ ก่ ป ญ ั หางานที่ทําไม่ ไ ด้ร ับ การจ้า ง คณะกรรมการไตรภาคี การพิจ ารณาของ ทัง้ นี้ แ รงงานพม่ า ดัง กล่ า วได้เ ดิน ไป รอบ
อย่ า งต่ อ เนื่ อง 21.5% อั น ดั บ สามได้ แ ก่ ครม.ครัง้ นี้ ไม่ ไ ด้พิจ ารณาข้อ ทัก ท้ว งจาก เมืองแม่สอด และเดินทางต่ อไปที่โรงเรียน
ทํางานหนัก 19% ทีเ่ หลือเป็ นอื่นๆ เช่น ไม่มี ภาคเอกชน เพราะยืน ยัน ว่ าดํา เนิ น การมา ซีดีซี.ของชาวพม่ า ที่อ ยู่ตํา บลท่า สายลวด
สวัสดิการ ไม่มวี นั หยุด ทํางานไม่ตรงเวลา ตามขัน้ ตอน ผลดังกล่าวจึงให้ครอบคลุม 76 เพื่อจัดกิจกรรมในวันดังกล่าว ซึง่ ได้รบั ความ
ปกติ ชั ว่ โมงทํ า งานมากเกิ น ไปและลา จังหวัด โดยมีการปรับเพิม่ ตัง้ แต่ 8-17 บาท/ สนใจในหมู่ชาวพม่าเป็ นอย่างมาก
พักผ่อนไม่ได้ วัน โดย จ.ภูเก็ต ปรับเพิม่ สูงสุดในอัตราขัน้
ไทยจั บ มื อ อิ สราเอลลดค่ า หั ว จั ด ส่ ง
ตํ่ า วัน ละ 221 บาท ขณะที่พ ะเยาเพิ่ม ขึ้น
บ.ไทยบริ ดจสโตน ยอมเพิ่ มโบนัส แต่ยนั คนงาน
ตํ่าสุดอยู่ท่ี 159 บาท/วัน โดยนายกรัฐมนตรี
เอาผิดคนงานปิ ดทางเข้าออกบริษทั
เน้ น ยํ้ า ว่ า จากความตั ง้ ใจของรั ฐ บาลที่ 20 ธ.ค. 53 - ที่ กระทรวงแรงงาน นายเฉลิม
11 ธ.ค. 53 - ความ คืบหน้ากรณีสหภาพ ต้อ งการปรับ เพิ่ม ค่ า จ้า งให้ไ ด้สูง สุด ที่ 250 ชัย ศรีอ่อน รมว.แรงงาน กล่าวภายหลังการ
แรงงานบริษัท ไทยบริดจสโตน นํ ารถยนต์ บาท/วัน แต่ไม่สามารถทําได้ เพราะผลักดัน ล ง น า ม ร่ ว ม กั บ น า ย อิ ต ซ์ ฮั ก โ ซ ฮั ม
มาชุ ม นุ ม ประท้ว งบริเ วณถนนพหลโยธิน ได้สงู สุดเพียงเท่านี้ เอกอัครราชทูตอิสราเอลประจําประเทศไทย

24 << คนทำงำน ธันวำคม 2553


เพื่อลดค่าใช้จ่ายในการเดินทางให้กบั คนงาน ขณะ ที่นายเกริกศักดิ ์ ศัก ดิบ์ ดิน ทร์ นายก ขว้างปาสิง่ ของเข้าไปในโรงงาน แต่ถูกําลัง
ไทยที่ไปทํางานที่อสิ ราเอลว่า ข้อตกลงของ สมาคมจั ด หางานไทยไปต่ า งประเทศ เจ้ า หน้ า ที่ ตํ า รวจ และ อส. เข้ า ควบคุ ม
การลงนามนอกจากจะเป็ นการลดค่าใช้จ่าย กล่า วถึงการลงนามในบันทึกความร่ว มมือ สถานการณ์ได้ทนั
สําหรับแรงงานไทย ที่จะเดินทางไปทํางาน ระหว่ า งไทยกับ อิส ราเอลว่ า จะส่ง ผลดีต่ อ
ด้ า นนายชุ น เห็ด ตู ม อายุ 40 ปี หัว หน้ า
ในประเทศอิสราเอลแล้ว ยังกําหนดจํานวน แรงงานไทย แต่ในส่วนของบริษทั จัดหางาน
แรงงานกัม พูชาเปิ ด เผยว่ า สาเหตุ ท่ีมีก าร
โควตาแรงงานไทย ที่ จ ะเดิ น ทางไปใน อาจได้ ร ับ ผลกระทบโดยตรง เพราะต้ อ ง
ประท้ว งครัง้ นี้ เ กิด ขึ้น จากกลุ่ ม ใช้แ รงงาน
รู ป แบบรั ฐ ต่ อ รั ฐ โดยไม่ ต้ อ งผ่ า นบริ ษั ท ยอมรับ ว่ า ที่ผ่ า นมามีบ ริษัท จัด หางานบาง
บ า ง ส่ ว น ไ ม่ เ ข้ า ใ จ ถึ ง ก ฎ ห ม า ย
นายหน้ า จัด หางาน รวมทัง้ สนั บ สนุ น การ แห่ง เรียกเก็บค่าหัวคิวแรงงาน จนเข้าข่าย
พระราชบัญญัติการทํางานของคนต่ างด้าว
ดําเนินการระหว่างไทย และองค์การระหว่าง การค้า มนุ ษย์ อย่ า งไรก็ต ามเชื่อ ว่า ภายใต้
ฉบับใหม่ ที่ให้สถานประกอบการเรียกเก็บ
ประเทศเพื่อ การโยกย้ า ยถิ่น ฐาน ให้ เ กิด ข้อตกลงดังกล่าว บริษทั จัดหางานก็จะยังคง
ค่าประกันแรงงานเดินทางกลับประเทศ ราย
ความร่วมมือในรูปแบบดังกล่าวในอนาคต อยู่ไ ด้ แต่ ต้อ งมีก ารปรับ ตัว ซึ่งในวัน ที่ 21
ละ 350 บาท ต่ อ 1 เดือน และเรียกร้องให้
ธ.ค.นี้ บริ ษั ท จัด หางาน 64 แห่ ง จะนั ด
นายเฉลิมชัย กล่าวว่า ในแต่ละปี มีแรงงาน ยกเลิกการเรียกเก็บค่าพาสปอร์ต ทีแ่ รงงาน
ประชุม เพื่อทําความเข้าใจถึงสาเหตุในการ
ไทยเดินทางไปทํางานในประเทศอิสราเอล ปี ต้องจ่ายรายละ 18,000 บาท ต่อราย ทีไ่ ด้ตก
ยกเลิก การจัด ส่ ง คนงานแบบเดิม และหา
ละ 5,000 – 6,000 คน โดยเสียค่าใช้จ่าย ลงกับ สถานประกอบการให้ชํา ระผ่ อ นจ่ า ย
ข้ อ สรุ ป ร่ ว มกั บ กรมการจั ด หางาน และ
ใ ห้ ก ั บ บ ริ ษั ท จั ด ห า ง า นปี ละ ป ระ ม า ณ เดื อ นละ 2,000 บาท เนื่ อ งจากไม่ เ หลื อ
องค์การระหว่างประเทศเพื่อการโยกย้ายถิน่
300,000 บาท ซึ่ ง การลงนามในข้อ ตกลง ค่ า แรงไว้ ใ ช้ จ่ า ยประจํ า วัน จึ ง ได้ ร วมตั ว
ฐาน หรือ ไอโอเอ็ม ก่ อ นนํ า ข้อสรุ ป เสนอให้
ฉบับนี้ จะทําให้ค่าใช้จ่ายต่ อคนลดลงเหลือ ประท้วงขึน้
กระทรวงแรงงานพิจารณาทบทวนอีกครัง้
เพีย ง 150,000 บาท ซึ่ง ในการดํา เนิ น งาน
ครัง้ นี้ จะส่ง ผลให้การจัดส่ง แรงงานไทยไป แรงงานกัมพูช ากว่า 500 คนปิ ดโรงงาน
ทํางานภาคเกษตรใน อิสราเอล จะเป็ นแบบ กุ้งจันทบุรีไม่พอใจที่ถกู หักค่าแรง นายสุ ช าติ ประสงค์ เ จริ ญ จัด หางาน จ.
รัฐ ต่ อ รัฐ เนื่ อ งจากต่ อ ไปอิ ส ราเอลจะไม่ จั น ทบุ รี ได้ ข้ึ น กล่ า วชี้ แ จงแก่ ก ลุ่ ม ผู้ ใ ช้
20 ธ.ค.53 - ที่ โรงงานจันทบุรซี ฟี ้ ูด ต.วัง
อนุ ญาตให้ แ รงงานต่ า งชาติ ท่ี ไ ม่ ไ ด้ ทํ า แรงงานว่า การเรียกเก็บหรือหักค่าแรงของ
ใหม่ อ.นายายอาม จ.จันทบุรี นายสุธี ทอง
ข้อตกลงนี้ เข้าไปทํางานอีก ทัง้ นี้มาตรการ สถานประกอบการเป็ น ไปตามกฎหมาย
แย้ ม นายอํ า เภอ นายายอาม จ.จัน ทบุ รี
ดังกล่าวมีผลบังคับใช้ตงั ้ แต่วนั นี้เป็ นต้นไป พระราชบัญญัติของ คนงานต่ า งด้า ว พ.ศ.
พร้อมด้วย พ.ต.อ.อภิชาต ไชยบุญ เรือง ผู้
หากแรงงานคนใดสนใจไปทํางานทีอ่ สิ ราเอล 2551 ที่กํา หนดให้สถานประกอบการเรีย ก
กํากับการสถานีตํารวจภูธรนายายอาม สนธิ
สามารถติดต่อได้ทก่ี ระทรวงแรงงาน เก็บค่าประกันค่าเดินทางกลับประเทศ จาก
กําลังเจ้าหน้ าที่กองร้อยอาสารักษาดินแดน
แรงงานต่างด้าว รายละ 350 บาท ต่อเดือน
ด้านนายอิตซ์ฮกั กล่าวว่า ขณะนี้มแี รงงาน และเจ้ า หน้ า ที่ ตํ า รวจ ตรึ ง กํ า ลั ง ควบคุ ม
ในระยะเวลา 6 เดื อ น เริ่ ม ตั ้ง แต่ เ ดื อ น
ไทยอยู่ในประเทศ 26,000 คน มากกว่าร้อย สถานการณ์
ธันวาคม 2553 ถึง เดือนเมษายน 2554 โดย
ละ 96 อยู่ ในภาคการเกษตรของประเทศ
ทัง้ นี้เนื่องจากแรงงานชาวกัมพูชา จํานวน ให้สถานประกอบการ ทํ า หนัง สือ ประกาศ
ซึง่ การลงนามครัง้ นี้ถอื เป็ นข้อตกลงฉบับแรก
กว่ า 500 คน ที่ลุก ฮือ ปิ ด ล้อ มทางเข้า ออก แจ้งให้แรงงานทราบล่วงหน้า
ที่อสิ ราเอลทํากับประเทศอื่น เนื่องจากเห็น
โรงงานจันทบุรี ซีฟ้ ู ด เพื่อประท้วงนายจ้าง
ว่าแรงงานไทยเป็ นแรงงานทีม่ คี วามขยัน มี ด้านพันตํารวจเอกอภิชาต ไชยบุญเรือง ผู้
เนื่องจากเกิดความไม่พอใจทีโ่ รงงานได้เรียก
ฝีมอื และเป็ นทีย่ อมรับของนายจ้างอิสราเอล กํากับการสถานีตํารวจภูธรนายายอาม ได้
หักค่าแรงเพิม่ ขึน้ จากเดิม มากเกือบเท่าตัว
โดยข้อตกลงดังกล่าวทําให้แรงงานไทยลด เสนอทางออกให้กลุ่มผูป้ ระท้วง อยู่ใต้อาณัติ
โดยเหตุ ก ารณ์ เ กื อ บจะบานปลายเมื่ อ มี
ค่าใช้จ่ายในการทํางานลง และสร้างโอกาส และเคารพกฎหมายไทย โดยให้แกนนํ าตัง้
แรงงานบางราย พยายามยุ ย งให้เ กิด การ
ให้แรงงานทีม่ ฝี ีมอื เข้ามาทํางานมากขึน้ ตัวแทนแรงงาน จํานวน 10 คน เข้าประชุม
ชุ ม นุ ม ประท้ว งเกิด ความรุ น แรง โดยการ
หารือ ร่ ว มกับ สถานประกอบการและทาง

คนทำงำน ธันวำคม 2553 >> 25


จัดหางาน เพื่อสรุปหาทางออกในเรื่องการ ครบกํ า หนด 2 สัป ดาห์ เมื่อ โทรศัพ ท์ ไ ป นายสมเกียรติ ฉายะศรีวงศ์ ปลัดกระทรวง
หักชําระผ่อนจ่ายค่าพาสปอร์ตและอื่นๆ โดย สอบถามก็อ้างว่าติดภารกิจอยู่อย่างนัน้ แต่ แรงงาน เปิ ด เผยผลสรุปข้อมูลคนหางาน
เจ้าหน้าทีต่ ํารวจจะเป็ นคนกลางให้กบั ทัง้ สอง จนถึงขณะนี้กไ็ ม่ได้ไปทํางานตามที่ 2 สามี ร้องทุกข์กรณีเดินทางไปทํางานต่างประเทศ
ฝ่าย โดยให้แรงงานมารับฟงั ผลการประชุม ภรรยากล่ า วอ้า ง และไม่ ไ ด้ ร ับ เงิน คืน แต่ ตามที่ กรมการจัดหางานเสนอในที่ประชุม
ของอีกวัน จากข้อเสนอดังกล่าวสร้างความ อย่างใด จึงต้องมาพึง่ ทางเจ้าหน้าทีต่ ํารวจให้ กระทรวงแรงงาน ว่ า จํา นวนผู้ร้อ งทุ ก ข์ใ น
พอใจให้แก่กลุ่มผู้ประท้วงจึงได้แยกย้ายกัน ช่ ว ยดํ า เนิ น การ เบื้อ งต้ น เจ้ า หน้ า ที่ไ ด้ ล ง เดือ นพฤศจิก ายน 2553 มีค นหางานร้อ ง
เข้า ทํ า งานตามปกติ โดยไม่ มีเ หตุ ก ารณ์ บัน ทึก ประจํา วัน และจะได้ ร วบรวมข้อ มู ล ทุ ก ข์ จํ า นวน 160 คน ลดลงจากเดื อ น
รุนแรง หลักฐานดําเนินคดีกบั สองผัวเมียดังกล่าวใน เดี ย วกั น ของปี งบประมาณ พ .ศ.2553
ข้ อ หาจั ด หางาน โดยไม่ ไ ด้ ร ั บ อนุ ญาต จํา นวน101 คน หรือ คิด เป็ น ร้อ ยละ 38.70
แรงงานอีสานร้องตารวจระยองถูกหลอก
หลอกลวงคนหางานว่าจะสามารถจัดส่งไป คนหางานได้รบั การช่วยเหลือ จํานวน 151
อ้างส่งทางานที่เฮติ
ทํางานต่างประเทศได้ แต่ไม่สามารถจัดส่ง คน ลดลงจากช่ ว งเดื อ นเดี ย วกั น ของ
21 ธ.ค. 53 - นายสมพร ไขแสงจันทร์ อายุ ไปทํา งานยัง ต่ า งประเทศตามคํา กล่า วอ้า ง ปี ง บประมาณ 2553 จํานวน 101 คน หรือ
31 ปี ชาว จ.หนองคาย พร้อ มพวกอีก 15 และไม่คนื เงินให้กบั แรงงาน คิดเป็ นร้อยละ 40.08 สาเหตุทค่ี นหางานร้อง
คน นํ า หลัก ฐานเข้า แจ้ง ความกับ พ.ต.ท. ทุ ก ข์ ได้ แ ก่ บริ ษั ท จั ด หางานเก็ บ เงิ น
ก.แรงงานแจงข้ อ มู ล การร้ อ งทุ ก ข์ !
พงษ์ศกั ดิ ์ คดีธรรม พนักงานสอบสวนสถานี ค่าบริการหรือค่าใช้จ่ายแล้วไม่สามารถจัดส่ง
คนงานไทยไปทางานตปท.ลดลง
ตํารวจภูธรบ้านฉาง จังหวัดระยอง ว่า ถูก คนหางาน ไปทํางานต่ างประเทศได้ และ
นายวิ ฑู ร ย์ สิ ง ห์ ฉ ลาด แ ละนางริ น จ ง 24 ธ.ค. 53 - กระทรวงแรงงานสรุปผลข้อมูล คนหางานเดินทางไปทํางานต่างประเทศแล้ว
ท ะ สั ง ข า ส อ ง ส า มี ภ ร ร ย า ช า ว จ . คนหางาน ร้องทุกข์กรณีเดินทางไปทํางาน ประสบป ญ ั หา ไม่ สามารถทํ า งานได้ จึง
มหาสารคาม หลอกลวงอ้างสามารถจัดส่งไป ต่ า งประเทศลดลง โดยในปี ง บประมาณ เดินทางกลับมาร้องทุ กข์ ขอค่า บริการและ
ทํางานประเทศเฮติ โดยเรีย กรับ เงิน ค่าหัว 2554 ตัง้ แต่เดือนตุลาคม-พฤศจิกายน 2553 ค่าใช้จ่ายคืน เหตุ ท่ที ําให้จํานวนผู้ร้องทุกข์
รายละ 40,000 บาท เบื้ อ งต้ น มี แ รงงาน คนหางานร้อ งทุ ก ข์ก ับ กรมการจัด หางาน ลดลงคาดว่าน่ าจะสืบเนื่องมาจากนโยบาย
ผูเ้ สียหายโอนเงินเข้าบัญชีของนางรินจง คน กระทรวงแรงงานมีจํา นวน 376 คน ลดลง ของ นายเฉลิมชัย ศรีอ่อน รัฐมนตรีว่าการ
ละ 40,000 บาทกว่า 200 คนแล้ว โดยอ้า ง จากในช่วงเดียวกับปี งบประมาณ พ.ศ.2553 กระทรวงแรงงานที่ให้ความสําคัญกับการมี
ว่ากรมยุทธบริการทหาร กระทรวงกลาโหม จํานวน 128 คน หรือคิดเป็ นร้อยละ 25.40 งานทําอย่างมีศกั ดิศรี ์ โดย ตัง้ เป้าให้เกิดผล
จัด โควตากํ า ลัง พลทัง้ ทหารและพลเรือ น คนหางานได้ร ับการช่ วยเหลือจํา นวน 374 สั ม ฤทธิ เ์ ป็ น"รู ป ธรรม" และยั ง ผลั ก ดั น
จํานวน 750 นาย เพื่อ ไปทํางานช่วยเหลือ คน ลดลงจากช่ ว งเดื อ นเดี ย วกั น ของ หลากหลายมาตรการ อาทิ"จับมือชุมชนเฝ้า
และฟื้ นฟู ป ระเทศเฮติ ท่ี ป ระสบภั ย พิ บ ั ติ ปี ง บประมาณ พ.ศ.2553 จํ า นวน 92 คน ระวัง " "คลายทุ ก ข์ -สร้ า งสุ ข " คนทํ า งาน
แผ่ น ดิน ไหว และต้ อ งเสีย ค่ า ใช้จ่ า ยคนละ หรือคิดเป็ นร้อยละ 19.74 ผลจาก "ปฏิญญา ร่วมมือให้ความรู้ ความเข้าใจกับเจ้าหน้าที่
40,000 บาท โดยให้โ อนเงิน เข้า บัญ ชีข อง 3 สิงหา"เพื่อการทํางานอย่างมีศกั ดิศรี ์ ทีด่ งึ อ ง ค์ ก ร ป ก ค ร อ ง ส่ ว น ท้ อ ง ถิ่ น กํ า นั น
นางริ น จง จึ ง หลงเชื่ อ โอนเงิ น เข้ า บั ญ ชี บริษัทจัดหางานกว่า 84 บริษัท ให้"คํามัน" ่ ผู้ใ หญ่ บ้า นและชุม ชนในการเป็ นเครือ ข่า ย
ดังกล่าว และให้เตรียมตัวเดินทางในวันที่ 27 พร้ อ มกั น ไม่ เ ก็ บ ค่ าใช้ จ่ า ย เกิ น อั ต รา แจ้ง เบาะแสเกี่ย วกับ สาย/นายหน้ า จัด หา
มิ. ย.53 จากนัน้ เมื่อ ใกล้ถึงวันเดิน ทางก็ไ ม่ กฎหมายกํา หนด รวมทัง้ ยัง จับ มือ ภาครัฐ งานเถื่ อ นให้ก ับ ทางราชการ เพื่อ ป้ องกัน
เห็น 2 สามี ภรรยาคู่น้ีตดิ ต่อมา จึงโทรศัพท์ เอกชน และชุมชน ขึน้ เป็ นเครือข่ายคอยแจ้ง ป ัญ ห า ห ลอ ก ลว ง แ ร ง ง า น ไ ป ทํ า ง า น
ไปสอบถามกับนายวิฑรู ย์ ก็อา้ งว่าทางทหาร เบาะแสเกี่ย วกับ สาย/นายหน้ า จัด หางาน ต่ างประเทศ รวมทัง้ ตอกยํ้าความมุ่งมันใน ่
ติด พ.ร.ก.ฉุ กเฉิน ไม่สามารถเดินทางออก เถื่อนให้กบั ทางราชการ เพื่อป้องกันปญั หา การปราบปรามการค้ามนุ ษย์และลดต้นทุน
ต่างประเทศจะต้องประจําการอยู่ในประ เทศ หลอกลวงแรงงานไปทํางานต่างประเทศ ของแรงงาน ไทย ที่จ ะเดิน ทางไปทํ า งาน
ไทยก่อน และขอเลื่อนกําหนดเดินทางไปอีก ต่ า งประเทศ ด้วย"ปฏิญ ญา 3 สิงหา" เพื่อ
2 สัปดาห์ ซึ่งผู้เสียหายก็หลงเชื่อและรอจน การทํา งานอย่างมีศกั ดิศ์ รี ดึงบริษัทจัดหา

26 << คนทำงำน ธันวำคม 2553


งานกว่ า 84 บริ ษั ท ให้ " คํ า มั น่ " ไม่ เ ก็ บ นั ก สหภาพชี้ ร่ า ง พ.ร.ฎ.ตั ้ง สหภาพ ทีร่ องรับระบบไตรภาคีทจ่ี ะช่วยแก้ไขปญั หา
ค่าใช้จ่ายเกินอัตรากฎหมายกําหนด รวมทัง้ “ข้าราชการ” ยังไม่ช่วยสร้างความเป็ น ตามหลัก แรงงานสัม พันธ์ ไม่ มีกลไกการมี
รณรงค์ต่อต้านการค้ามนุ ษย์ทุกรูปแบบ ซึ่ง ธรรม ส่วนร่วมในการแต่ งตัง้ โยกย้ายที่เป็ นธรรม
รวมไปถึ ง การดู แ ลแรงงานต่ า งด้ า วที่ ม า และไม่ มีก ลไกการแก้ป ญ ั หาหากเกิด กรณี
26 ธ.ค. 53 - ที่ผ่านมานายสุพจน์ พงศ์
ทํางานในไทยด้วยกระทรวงแรงงานสรุปผล พิ พ า ท ร ะ ห ว่ า ง ผู้ บ ั ง คั บ บั ญ ช า ที่ เ ป็ น
สุ พ ัฒ น์ ประธานสหภาพข้ า ราชการและ
ข้อ มูล คนหางานร้อ งทุ ก ข์ก รณี เ ดิน ทางไป ข้ า ราชการประจํ า หรื อ นั ก การเมื อ ง กั บ
ค น ทํ า ง า น ภ า ค รั ฐ ก ล่ า ว ถึ ง ก ร ณี ที่
ทํ า ง า น ต่ า ง ป ร ะ เ ท ศ ล ด ล ง โ ด ย ใ น ผู้ ใ ต้ บ ั ง คับ บั ญ ชา พร้ อ มเสนอให้ ตั ง้ เป็ น
คณะกรรมการข้าราชการพลเรือน (ก.พ.) มี
ปี ง บประมาณ 2554 ตัง้ แต่ เ ดือ นตุ ล าคม- คณะกรรมการถาวร เพื่อ ระงับ ข้อ พิพ าท
มติเห็นชอบร่างพระราชกฤษฎีกา (พ.ร.ฎ.)
พฤศจิก ายน 2553 คนหางานร้อ งทุ ก ข์ก ับ ให้กบั ข้าราชการและลูกจ้าง คล้ายกับกลไกที่
สนับสนุ นให้ข้าราชการพลเรือนตัง้ สหภาพ
กรมการจัด หางาน กระทรวงแรงงานมี ใช้อยู่ใ นคณะกรรมการแรงงานรัฐวิสาหกิจ
ราชการและเตรี ย มเสนอคณะรั ฐ มนตรี
จํานวน 376 คน ลดลงจากในช่ว งเดียวกับ สัมพันธ์ (ครส.)
(ครม.) เห็นชอบเร็ว ๆ นี้ว่า เป็ นเรื่องที่ ก.พ.
ปี ง บประมาณ พ.ศ.2553 จํา นวน 128 คน
ปฏิบตั โิ ดยผิดหลักการและลําดับชัน้ ของการ ผู้ป ระกอบการมหาชัย ฮื อ ค้ า นเก็บ เงิ น
หรือ คิด เป็ นร้อยละ 25.40 คนหางานได้ร ับ
ออกกฎหมาย เพราะควรจะออกเป็ น ต่างด้าวเข้ากองทุนฯ
การช่วยเหลือจํานวน 374 คน ลดลงจากช่วง
พระราชบัญญัติ (พ.ร.บ.) เพราะเป็ นเรื่องทีม่ ี
เดือนเดียวกันของปี งบประมาณ พ.ศ.2553 27 ธ.ค. 53 - ที่บริเวณหน้ าศาลากลาง
บัญ ญัติไ ว้ใ นรัฐ ธรรมนู ญ และเนื้ อ หาและ
จํานวน 92 คน หรือคิดเป็ นร้อยละ 19.74 ผล จังหวัดสมุทรสาครนายสุทนิ ชาวปากนํ้า อุป
รายละเอียดมาก ที่สําคัญโครงสร้าง รวมถึง
จาก "ปฏิญ ญา 3 สิง หา" เพื่อ การทํา งาน นายกสมาคมการประมงแห่ ง ประเทศไทย
เนื้ อหาของกฎหมายยังไม่ค รอบคลุ ม หรือ
อย่างมีศกั ดิศรี
์ ทีด่ งึ บริษทั จัดหางานกว่า 84 และ นายปรีช าศิริแ สงอารํ า พี เลขาธิก าร
สร้างความเป็ นธรรมให้กบั ข้าราชการ รวมถึง
บริษทั ให้"คํามัน"่ พร้อมกัน ไม่เก็บค่าใช้จ่าย หอการค้า จ.สมุทรสาครพร้อมด้วยตัวแทน
ลูกจ้างอื่น ๆ ของภาครัฐ
เกินอัตรากฎหมายกําหนด รวมทัง้ ยังจับมือ ผูป้ ระกอบการกว่า 200 คน ได้ย่นื หนังสือต่อ
ภาครัฐ เอกชน และชุมชน ขึน้ เป็ นเครือข่าย นายสุพจน์ กล่าวอีกว่า ปจั จุบนั ประเทศไทย น า ย อ ภิ ช า ติ โ ต ดิ ล ก เ ว ช ช์ ร อ ง ผู้ ว่ า ฯ
คอยแจ้งเบาะแสเกีย่ วกับสาย/นายหน้าจัดหา มีข้า ราชการทุ กประเภทกว่ า 1.2 ล้า น คน สมุทรสาคร เพื่อคัดค้านกฎกระทรวงแรงงาน
งานเถื่อ นให้ก ับ ทางราชการ เพื่อ ป้ อ งกัน รวมถึ ง เจ้ า หน้ า ที่ อ่ืน ของรัฐ เช่ น ลู ก จ้ า ง ว่า ด้ว ยการเรีย กเก็บเงินกองทุ น เพื่อ ส่ง คน
ป ัญ ห า ห ล อ ก ล ว ง แ ร ง ง า น ไ ป ทํ า ง า น ชัวคราว
่ ลูก จ้า งประจํา อีก นับ ล้า นคน แต่ ต่างด้าวกลับประเทศ ซึง่ มีผลบังคับใช้ตงั ้ แต่
ต่างประเทศ กฎหมายดัง กล่ า ว กลับ ครอบคลุ ม เฉพาะ วันที่ 27 ธันวาคมทีผ่ ่านมา
ข้าราชการพลเรือนสามัญกว่า 360,000 คน
ทั ง้ นี้ กระทรวงแรงงาน มี น โยบายให้ ทัง้ นี้ นายสุ ทิน กล่ า วว่ า การที่ก ระทรวง
ทั ง้ ที่ ร ั ฐ ธรรมนู ญ มาตรา 64 บั ญ ญั ติ ไว้
คนทํางานเดินทางไปทํางานในต่างประเทศ แรงงานได้อ อกกฎกระทรวงดังกล่า วทําให้
ชัดเจนว่าข้าราชการ และเจ้าหน้าทีข่ องรัฐ มี
อย่างถูกต้องตามกฎหมาย มีสญ ั ญาจ้างที่ นายจ้า งมีห น้ า ที่ห ัก เงิน ค่ า จ้า งลู ก จ้า งซึ่ง
เสรี ภ าพ ใ นกา รรวม กลุ่ มเป็ นสห ภ า พ
ชัดเจน รวมถึงการติดตามดูแลมิให้คนงาน ได้ร ับ ใบอนุ ญ าตตามมาตรา 9 มาตรา 11
เช่ น เดีย วกับ บุ ค คลทัว่ ไป โดยเฉพาะกลุ่ ม
ไทยถูกเอารัดเอาเปรียบระหว่าง การทํางาน มาตรา 13 (1) และมาตรา 14 เฉพาะ งานรับ
ลูกจ้างที่ปจั จุบนั ถูกละเลย และจํากัดสิท ธิ
ในต่ า งประเทศ หากมี ข้ อ สงสั ย ติ ด ต่ อ ใช้ ใ นบ้ า นและงานกรรมกรเพื่อ นํ า ส่ ง เข้า
และสวัสดิการถึงขัน้ เลวร้ายยิ่งกว่าแรงงาน
สํ า นั ก ง า นแ รง ง า นจั ง ห วั ด ทุ กจั ง ห วั ด กองทุนเพื่อการส่งคน ต่ างด้าวกลับออกไป
ต่างด้าว ไม่มแี ม้สทิ ธิการลาคลอด ไม่ได้รบั
สํ า นั ก งานจั ด หางานจั ง หวั ด ทุ ก จั ง หวั ด นอกราชอาณาจักร โดยลูกจ้างสัญชาติพม่า
การขึน้ เงินเดือน และถูกหักเงินทุกครัง้ ทีข่ าด
สํ า นั ก ง า น จั ด ห า ง า น เ ข ต พื้ น ที่ 1-10 และลาว คนละ 2,400 บาท สัญชาติกมั พูชา
งาน หรือมาสาย
ศูน ย์บ ริก ารร่ วมกระทรวงแรงงานและสาย คนละ 2,100 บาท โดยเฉลี่ย เป็ น จํ า นวน
ด่วนกรมการจัดหางาน โทร.1694 นาย สุพจน์ กล่าวต่อว่า นอกจากนี้กฎหมาย เท่า กันทุ กเดือนติด ต่ อกันเป็ นเวลา6 เดือ น
ดังกล่าวยังไม่มคี วามเป็ นตรรกะ หรือ กลไก และให้ นํ า ส่ ง เงิ น ที่ ห ั ก ไว้ นั ้น เข้ า กองทุ น

คนทำงำน ธันวำคม 2553 >> 27


ภายในวันที่ 15 ของเดือนถัดไปจนครบตาม ความไม่ชดั เจนในเรื่องการส่งเงินคืนให้ก ับ ต้ อ ง ก า ร ไ ป ทํ า ง า น ม า ก ที่ สุ ด คื อ
อัต ราดัง กล่ า ว หากสถานประกอบการใด แรงงานทีจ่ ะออกนอกราช อาณาจักร ซึง่ เป็ น ผู้ ป ฏิ บ ั ติ ง านในโรงงานประเภทควบคุ ม
นําส่งเงินเข้ากองทุนไม่ครบ6 เดือน นายจ้าง ประเด็น เดีย วกับ ที่ส ภาอุ ต สาหกรรมแห่ ง เครื่อ งจัก รและประกอบชิ้น ส่ว น รองลงมา
ต้องเสียเงินเพิม่ ในอัตราร้อยละ 2 ต่อ เดือน ประเทศไทย และภาคเอกชนต่างๆ ร้องเรียน คือ ผู้ปฏิบตั ิงานทักษะฝี มือ เช่น ช่างเชื่อม
ของเงินค่าจ้างทีไ่ ม่ได้นําส่งหรือนําส่งไม่ครบ ช่างไม้ ช่างก่อสร้าง ช่างปูน ช่างเหล็ก และ
นายเฉลิมชัยกล่าวว่า กระทรวงแรงงานจึงมี
ทํา ให้แ รงงานต่ า งด้า วเดือ ดร้อ นและสร้า ง ช่างทัว่ ไป โดยมีแรงงานที่ได้รบั อนุ ญาตให้
แผนยกร่างแก้กฎกระทรวงการส่งเงินสมทบ
ความเสียหายทางธุรกิจมูลค่า นับ แสนล้า น เดิ น ทางไปทํ า งานต่ า งประเทศ จํ า นวน
กองทุนเพื่อการส่ง กลับคนต่างด้าว โดยให้
บาท จึงต้องการให้กระทรวงแรงงานแก้ไข 74,205 คน แยกเป็ นชาย 62,716 คน หญิง
ขยายระยะเวลาการจัด เก็บ เงิน สมทบเข้า
กฎกระทรวงนี้ ซึ่งทางผู้ประกอบการจะไป 11,489 คน
กองทุ น ออกไปเป็ น วัน ที่ 1 มีน าคม 2555
ยื่น หนัง สือ คัด ค้านต่ อ นายเฉลิม ชัย ศรีอ่ อ น
และ ในระหว่างนี้จะตัง้ คณะทํางานศึกษาถึง โดยประเทศที่แรงงานไทยได้รบั อนุ ญาตให้
รมว.แรงงาน ต่อไป
ความเหมาะสมของกฎระเบียบข้อบังคับดัง เข้า ไปทํ า งาน 5 อัน ดับ แรก คือ ไต้ ห วัน
เลื่ อ นเก็บ เงิ น ส่ ง กลับ ต่ า งด้ า วถึ ง มี . ค. กล่ า วว่ า มีค วามสอดคล้อ งกับ สถานการณ์ รองลงมา คือ ญี่ปุ่น อิส ราเอล ลิเ บีย และ
2555 ปจั จุบนั หรือไม่อย่างไร สหรัฐอาหรับเอมิเ รตส์ โดยตํา แหน่ ง งานที่
ได้ ร ับ อนุ ญ าตให้ ไ ปทํ า งานมากที่ สุ ด คื อ
29 ธ.ค. 53 - นาย เฉลิม ชัย ศรีอ่ อ น “ไต้หวัน” ครองแชมป์ แรงงานไทยนิ ยม
ผู้ ป ฏิ บ ั ติ ง านในโรงงานประเภทควบคุ ม
รัฐมนตรีว่าการกระทรวงแรงงาน เปิ ดเผยว่า ไปทางานมากสุด
เครื่อ งจัก รและประกอบชิ้น ส่ว น รองลงมา
กลุ่มสภาอุตสาหกรรม และหอการค้าจังหวัด
30 ธ.ค. 53 - นายสมเกียรติ ฉายะศรีวงศ์ คือ ผู้ปฏิบตั ิงานโดยใช้ทกั ษะฝี มือในธุรกิจ
สมุทรสาคร ได้เข้าพบเพื่อขอให้ทบทวนการ
ปลั ด กระทรวงแรงงาน เปิ ดเผยตั ว เลข ต่างๆ ซึ่งตําแหน่ งงานที่ไปทําส่วนใหญ่ คือ
ส่งเงินสมทบกองทุนเพื่อการส่งกลับคนต่า ง
แรงงานไทยทีเ่ ดินทางไปทํางานต่างประเทศ ตําแหน่ งคนงานไร้ฝีมือ ร้อยละ 64.45 และ
ด้ า ว อ อ ก น อ ก ร า ช อ า ณ า จั ก ร ต า ม
ณ เดือนพฤศจิกายน 2553 ว่า มีแรงงานมา ตํ า แหน่ ง ช่ า งฝี มือ ร้ อ ยละ 35.55 คาดว่ า
พระราชบัญญัติ (พ.ร.บ.) การทํางานของคน
ลงทะเบี ย นแจ้ ง ความประสงค์ ไ ปทํ า งาน รายได้ท่จี ะส่งกลับเข้าประเทศ ตัง้ แต่เดือน
ต่ างด้า ว พ.ศ.2551 ซึ่งมีผลบัง คับใช้ตัง้ แต่
ต่ า งประเทศ จํ า นวน 115,773 คน โดย มกราคม-พฤศจิ ก ายน 2553 ประมาณ
วั น ที่ 27 ธั น วาคม ที่ ผ่ า นมา เนื่ องจาก
ไต้หวันเป็ นที่ๆ คนไทยนิยมไปทํางานมาก 51,176 ล้าน
ภาคเอกชนได้ร ับ ผลกระทบจากนโยบาย
ทีส่ ุด รองลงมา คือ สาธารณรัฐเกาหลี ญี่ปุ่น
อาทิ เรื่องภาระของนายจ้างทีเ่ พิม่ ขึน้ รวมถึง
อิสราเอล และลิเบีย สําหรับอาชีพที่มคี วาม

วารสารออนไลน์คนทางานมีวตั ถุประสงค์เพื่อเป็นสื่อกลางในการสื่อสารด้านแรงงาน ไม่สงวนลิขสิทธิ์ในการเผยแพร่-ทาซ้า

รับข่าวสาร-ข้อมูลด้านแรงงานทางอินเตอร์เน็ตได้ที่ :

www.prachatai3.info (เว็บไซต์ข่าวทางเลือกประชาไท)
www.thailabour.org (โครงการรณรงค์เพื่อแรงงานไทย)
- www.facebook.com/thailabour
- www.twitter.com/thailabour

ส่งข่าว-ประชาสัมพันธ์-แลกเปลีย่ นข้อมูลข่าวสาร ด้านแรงงานได้ที่ :


28 << คนทำงำน ธันวำคม 2553
workazine@gmail.com โทรศัพท์/ sms แจ้งข่าวได้ที่เบอร์ 086-1947002 แฟกซ์ 02 690 2712

You might also like