You are on page 1of 6

ชุมชนแห่งนวัตกรรมและความคิดสร้างสรรค์

The Community of Innovation & Creativity


ดร.วีระวุฒิ วัจนะพุกกะ
อาทิตยา อรุณศรีโสภณ
มหาวิทยาลัยกรุงเทพ

บทคัดย่อ
ในยุคแห่งการเปลี่ยนแปลงจากเศรษฐกิจแบบดั้งเดิมสู่เศรษฐกิจฐานความรู้ (Knowledge-based Economy) และเศรษฐกิจ
สร้างสรรค์ (Creative Economy) องค์กรต่างๆ ต้องปรับตัวและจ�ำเป็นต้องแข่งขันกันด้วย “ความคิดสร้างสรรค์ (Creativity)” และ
“นวัตกรรม (Innovation)” เพือ่ สร้างความแตกต่างในกระบวนการส่งมอบสินค้าหรือบริการจนถึงมือผูบ้ ริโภคพร้อมกับความพึงพอใจสูงสุด
องค์กรที่จะอยู่รอดได้ในอนาคตภายใต้สภาวะแวดล้อมของโลกที่เปลี่ยนแปลงอย่างรวดเร็ว ต้องอาศัยความคิดสร้างสรรค์และสามารถดึง
ศักยภาพของคนในองค์กรออกมาใช้ได้อย่างมีประสิทธิภาพ หลายองค์กรจึงมีแนวคิดทีจ่ ะแปลงผลการวิจยั องค์ความรูภ้ ายในองค์กร หรือ
ความคิดสร้างสรรค์ต่างๆ ที่เปรียบเสมือนทรัพย์สินอันมีค่าที่จับต้องไม่ได้ (Intangible Assets) ให้เกิดประโยชน์เชิงเศรษฐศาสตร์หรือก่อ
ให้เกิดประโยชน์เชิงธุรกิจได้จริง ซึง่ แนวคิดดังกล่าวจะท�ำให้เกิดประโยชน์กบั ทัง้ องค์กรและกับผูค้ ดิ ค้นผูว้ จิ ยั บทความนีพ้ ยายามทีจ่ ะชีใ้ ห้
เห็นถึงสิ่งที่จะเป็นไปได้สูงสุด ในกระบวนการบริหารงานวิจัยและพัฒนานวัตกรรมขององค์กรแห่งการเรียนรู้ในอนาคตใดๆ ก็ตาม ใน
ที่สุดแล้วกระบวนการนี้จะน�ำไปสู่การสร้างชุมชนแห่งนวัตกรรมและความคิดสร้างสรรค์ภายในองค์กร ส่งผลให้องค์กรมีความสามารถใน
การแข่งขันสูงขึ้นและสามารถสร้างความแตกต่างที่ท�ำให้องค์กรเติบโตได้อย่างยั่งยืน

ค�ำส�ำคัญ: นวัตกรรม, ความคิดสร้างสรรค์, การจัดการนวัตกรรม, ชุมชนแห่งความคิดสร้างสรรค์

Abstract
In the era of economic transition from traditional to knowledge-based economy and to creative economy,
organizations need to adapt and compete with “Creativity” and “Innovation” to make a difference in the process of
delivering goods or services to consumers with the highest satisfaction. To survive in the future, organization, under
circumstances of rapidly changing world, requires creativity and highest ability to utilize its human capitals. Many organizations
have an idea to convert its intangible assets, such as research results, knowledge and creative ideas within the organization,
to economic benefits and become real businesses. This concept will benefit both the organization and the inventor of
innovation. Further, this article attempts to point out what will be a most likely scheme in the administrative process of
research and development of innovation within a learning organization in the near future. This process will eventually lead
to the creation of the community of innovation and creativity. Then, the community will be able to create competitive
advantages of the organization and can make a difference that enables organizations to sustainable growth.

Keywords: innovation, creativity, management innovation, creative community

ในศตวรรษที่ 21 ยุคแห่งปรากฏการณ์ที่สามารถสัมผัสได้ถึงความเปลี่ยนแปลงของโลกที่หมุนเร็วขึ้น ท่ามกลางสภาวะแวดล้อม


ภายนอกที่เปลี่ยนแปลงอย่างรวดเร็ว การพัฒนาจากเศรษฐกิจแบบดั้งเดิมสู่เศรษฐกิจฐานความรู้ (Knowledge-based Economy) และ
เศรษฐกิจสร้างสรรค์ (Creative Economy) ทีถ่ กู ผลักดันจากความก้าวหน้าทางเทคโนโลยีทลี่ ำ�้ สมัย การเติบโตของฐานข้อมูล และลักษณะ

Executive Journal 25

aw ��������.indd 25 16/12/2010 10:11


ทางสังคมที่แปรเปลี่ยนไป ส่งผลให้รูปแบบการด�ำเนินการของ พฤติกรรมผู้บริโภค เช่น การสั่งอาหารผ่านหน้าจอคอมพิวเตอร์
องค์กรแห่งการเรียนรู้ อย่างเช่น มหาวิทยาลัยจ�ำเป็นต้องปรับตัว และบริการเสิร์ฟด้วยหุ่นยนต์
ตาม มหาวิทยาลัยซึง่ เป็นแหล่งผลิตบุคลากรทีจ่ ะมาเป็นเป็นตัวขับ การปลูกฝังให้คนรุ่นใหม่ตระหนักความส�ำคัญของความ
เคลื่อนระบบเศรษฐกิจของชาติ จึงต้องแข่งขันกันด้วย “ความคิด คิดสร้างสรรค์และนวัตกรรมเป็นสิ่งที่จ�ำเป็นในยุคแห่งเศรษฐกิจ
สร้างสรรค์ (Creativity)” และ “นวัตกรรม (Innovation)” เพื่อ สร้างสรรค์นี้ การพัฒนานวัตกรรมขององค์กรแห่งการเรียนรู้เป็น
สร้างความต่างของกระบวนการการส่งมอบองค์ความรู้ ให้ถึงมือ หน้าที่ส�ำคัญของสถาบันการศึกษา และสถาบันการศึกษาก็ต้องมี
ผู ้ รั บ พร้ อ มกั บ ความพึ ง พอใจสู ง สุ ด ด้ ว ยเหตุ ผ ลเดี ย วกั น นี้ การปรั บ บทบาทของตั ว เองเพื่ อ ส่ ง เสริ ม การสร้ า งชุ ม ชนแห่ ง
ประเทศไทยจึงได้ส่งเสริมแนวคิดเรื่อง เศรษฐกิจสร้างสรรค์ และ นวัตกรรมและความคิดสร้างสรรค์ ในอดีตทีผ่ า่ นมา หากพิจารณา
บรรจุไว้ในแผนพัฒนาเศรษฐกิจและสังคมแห่งชาติ ฉบับที่ 10 การบริหารจัดการมหาวิทยาลัยในมุมมองเชิงธุรกิจสามารถก�ำหนด
(พุทธศักราช 2550 - 2554) เพื่อให้ประเทศสามารถปรับตัวและอยู่ ผลิตภัณฑ์หลักของมหาวิทยาลัย ได้แก่ หลักสูตรการเรียนการสอน
รอดได้ ท่ามกลางกระแสโลกาภิวัตน์ที่การเปลี่ยนแปลงของโลก และการบริการด้านการศึกษา โดยที่กระบวนการผลิตจะมีเหล่า
เศรษฐกิจ และสังคมมีผลกระทบอย่างรุนแรงต่อความอยู่รอดของ คณาจารย์เป็นผู้ดูแลโดยตรง และมีบุคลากรในส่วนงานอื่นเป็นผู้
ประเทศ โดยไม่หวังพึ่งเพียงแค่ทรัพยากรด้านเงินทุน ทรัพยากร สนับสนุน ยิง่ กว่านัน้ กลุม่ เป้าหมายของมหาวิทยาลัย สามารถเทียบ
ทางธรรมชาติ และทรัพยากรด้านเทคโนโลยีในการเสริมสร้างความ ได้กับนักเรียน นักศึกษา ผู้ปกครอง และหน่วยงานภายนอกที่
สามารถในการแข่งขันโดยเปรียบเทียบ (Competitive Advantage) ต้องการรับการฝึกอบรม ส่วนผลผลิตของมหาวิทยาลัยที่สามารถ
เมื่อเทียบกับประเทศคู่แข่งอีกต่อไป รัฐบาลจึงสนับสนุนให้ทุน สัมผัสได้และเห็นได้ชัด คือ คุณภาพของนักศึกษาที่ส�ำเร็จการ
มนุษย์ที่ประเทศมีอยู่ ใช้ความคิดสร้างสรรค์ ในการพัฒนา ศึกษา การยอมรับในสังคม และความสามารถในการบรรลุเป้า
ทรัพยากรอันล�ำ้ ค่าของประเทศ เช่น วัฒนธรรมท้องถิน่ ตามภูมภิ าค หมายในการฝึกอบรมตามที่หน่วยงานภายนอกต้องการ
ต่างๆ แหล่งท่องเที่ยวตามธรรมชาติ ตลอดจนสินค้าพื้นเมืองที่มี ทรัพยากรมนุษย์ (Human Capital) ที่มีคุณค่าของ
อยู่แล้ว ให้ถูกน�ำไปใช้ในแนวทางใหม่ๆ หรือวิธีการใหม่ๆ (อาคม, มหาวิทยาลัย ถูกใช้ไปในกระบวนการการเรียนการสอนเป็นหลัก
2551) และต้องสามารถน�ำความคิดเหล่านั้นมาพัฒนาให้เกิดผล ถึงแม้ทรัพยากรมนุษย์กลุม่ นีจ้ ะสามารถผลิตผลงานวิจยั หรือคิดค้น
ประโยชน์เชิงเศรษฐศาสตร์ได้จริง สมกับการเป็นยุคแห่งเศรษฐกิจ สิ่งประดิษฐ์ออกมา ซึ่งอาจจะถือได้ว่าเป็นทรัพย์สินที่จับต้องไม่ได้
สร้างสรรค์ (Intangible Assets) ส่วนหนึง่ ของมหาวิทยาลัยฯ และแน่นอน ส่วน
ในภาคธุรกิจ ความคิดสร้างสรรค์ไม่เพียงถูกน�ำมาใช้ใน หนึ่งเป็นของผู้คิดค้น แต่ปัญหาที่เกิดขึ้น คือ ความคิดสร้างสรรค์
การคิดค้นและพัฒนาผลิตภัณฑ์ใหม่ๆ เท่านัน้ ความคิดสร้างสรรค์ และนวัตกรรมจากงานวิจัยเหล่านั้นถูกใช้แค่เป็นผลงานทาง
ยังถูกผนวกเข้ากับการบริการ ซึ่งเป็นเสมือนตัวเชื่อมระหว่าง วิชาการ หรือถูกใช้ในการตอบสนองความต้องการของผู้ผลิตงาน
ผลิตภัณฑ์ และผู้บริโภคก่อให้เกิดค่านิยมในเรื่องของนวัตกรรม วิจยั เป็นหลัก มหาวิทยาลัยไม่สามารถทีจ่ ะแปลงทรัพย์สนิ ทีจ่ บั ต้อง
บริการ (Service Innovation) ขึ้นในปัจจุบัน ในกลุ่มผลิตภัณฑ์ที่ ไม่ได้เหล่านีใ้ ห้เกิดประโยชน์เชิงเศรษฐศาสตร์ได้อย่างเป็นรูปธรรม
มีคู่แข่งมาก นวัตกรรมบริการเป็นปัจจัยส�ำคัญในการสร้างความ และมีประสิทธิภาพ
แตกต่างและส่งผลต่อกระบวนการตัดสินใจของผู้บริโภค การน�ำ
นวัตกรรมบริการมาใช้มอี ยูห่ ลายระดับด้วยกัน ทัง้ นีข้ นึ้ อยูก่ บั ระดับ
ของเทคโนโลยีที่น�ำมาใช้ และผลกระทบต่อพฤติกรรมการบริโภค
ในระดับแรกองค์กรอาจมีการเปลี่ยนแปลงเล็กๆ น้อยๆ เช่น ปรับ
ภาพลักษณ์ใหม่ดว้ ยการเปลีย่ นตราสัญลักษณ์ ในอันดับถัดมาอาจ
มีการน�ำเทคโนโลยีใหม่ๆ เข้ามาใช้ และการเปลี่ยนแปลงนี้ก็ให้
เกิดการเปลี่ยนแปลงในขั้นตอนการท�ำงานภายในองค์กร และ
พฤติกรรมผู้บริโภค เช่น การท�ำธุรกรรมธนาคารผ่านทางโทรศัพท์
การเพิ่มการบริการอาหารแบบส่งถึงบ้าน ในขั้นสุดท้ายเป็นการ
เปลี่ยนแปลงครั้งส�ำคัญที่ต้องอาศัยเทคโนโลยี และกระบวนการ
ท�ำงาน อันส่งผลถึงการเปลี่ยนแปลงครั้งใหญ่ในองค์กร และ

26 Executive Journal

aw ��������.indd 26 16/12/2010 10:11


รูปที่ 1 University Process

จากปัญหาเดียวกันดังกล่าว หลายองค์กรในต่างประเทศ
จึงมีแนวคิดที่จะก่อตั้งหน่วยงานที่ท�ำหน้าที่ แปลงผลงานวิจัย
ความคิดเชิงสร้างสรรค์ซงึ่ เป็นทรัพย์สนิ ทีจ่ บั ต้องไม่ได้ของบุคลากร
และขององค์กรให้เกิดประโยชน์เชิงเศรษฐศาสตร์และก่อให้เกิด
ประโยชน์เชิงธุรกิจได้จริง หรืออีกนัยหนึ่งคือให้หน่วยงานดังกล่าว
ท�ำหน้าที่เป็น Marketing arm & investment unit ให้กับองค์กร
โดยความหมายอย่างแคบ สินค้าของหน่วยงานก็คือผลผลิตจาก
งานวิจัยเชิงสร้างสรรค์นั่นเองและไม่จ�ำกัดว่างานวิจัยที่จะไปต่อ
ยอดเชิงพาณิชย์ต้องเป็นขององค์กรเท่านั้น แนวคิดขององค์กรที่
เป็นแหล่งสะสมและประมวลความรูท้ กี่ อ่ ให้เกิดความคิดสร้างสรรค์
จนสามารถผลิตนวัตกรรมขึ้นมาใหม่ โดยพยายามใช้ทรัพยากร
มนุษย์ที่มีอยู่แล้วให้เกิดประโยชน์สูงสุด เปรียบเสมือนการเปิดขุม รูปที่ 2 Creative Park’s Major and Minor Goals
สมบัติที่ถูกซุกซ่อนไว้ในคลังสมบัติขององค์กร และน�ำสมบัติที่จับ
ต้องไม่ได้นมี้ าพัฒนาท�ำให้เกิดผลประโยชน์เชิงเศรษฐศาสตร์ และ บทความนีพ้ ยายามทีจ่ ะท�ำให้ผอู้ า่ น เห็นถึงสิง่ ทีจ่ ะมีความ
ใช้เป็นตัวเชื่อมความสัมพันธ์ระหว่างองค์กรที่เป็นแหล่งความคิด เป็นไปได้สงู ทีส่ ดุ ในการบริหารงานวิจยั และการบริหารกระบวนการ
กับอุตสาหกรรมภายนอกที่เป็นแหล่งธุรกิจ พัฒนานวัตกรรมทั้งในประเทศไทยและต่างประเทศภายในระยะ
ความรับผิดชอบของหน่วยงานที่สนับสนุนงานวิจัยหรือ เวลาอันใกล้นี้ และต้องการให้ผทู้ อี่ ยูใ่ นองค์กรแห่งอนาคตทีม่ คี วาม
นวัตกรรมขององค์กรแห่งการเรียนรู้ใดๆ ก็ตาม ไม่ควรถูกตีกรอบ คิดสร้างสรรค์ดังกล่าว จินตนาการ ก�ำหนดทิศทาง และก�ำหนด
อยู่แค่การพาณิชย์ของผลงานวิจัย หรือการลงทุนในผลผลิตที่ต่อ มุมมองของงานวิจัยนวัตกรรมด้วยตัวท่านเอง ดังนั้นหน้าที่หลัก
เนื่องมาจากงานวิจัยเท่านั้น อีกนัยหนึ่งในความหมายอย่างกว้าง ขององค์กรที่ควรจะเป็น คือ สนับสนุนเครื่องมือในการคิด เป็นที่
หน่วยงานสนับสนุนนีส้ มควรทีจ่ ะรับผิดชอบในการสร้างชุมชนแห่ง ปรึกษาให้แก่บคุ ลากรภายในองค์กรและหน่วยธุรกิจภายนอกทีม่ อง
ความคิดสร้างสรรค์ภายในองค์กรทีม่ พี นื้ ฐานจากการเรียนรู้ น�ำผล เห็นความเป็นไปได้ รวมทัง้ ชักชวนนักลงทุนทีส่ นใจ ซึง่ ในทีส่ ดุ แล้ว
งานจากการเรียนรูน้ นั้ มาท�ำให้เกิดประโยชน์เชิงเศรษฐศาสตร์และ ทิศทางของหน่วยงานจะถูกก�ำหนดจากความเห็นร่วมของผู้ที่
ยังมีหน้าที่ในการชักชวนนักลงทุน นักธุรกิจ สถาบันการเงิน และ เกี่ยวข้องกับงานวิจัยและการพัฒนานวัตกรรมภายในองค์กรดัง
กลุ่มอุตสาหกรรมต่างๆ ตั้งแต่ต้นน�้ำจนถึงปลายน�้ำ ที่อยู่ใน กล่าว
คลัสเตอร์ (Cluster) เป้าหมายเดียวกัน มารวมกลุ่มกันและมีธุรกิจ องค์กรทีจ่ ะอยูร่ อดได้ในอนาคตภายใต้สภาวะแวดล้อมของ
ต่อเนือ่ งร่วมกัน เพือ่ ลดต้นทุนในการด�ำเนินการและเพือ่ เสริมสร้าง โลกที่เปลี่ยนแปลงอย่างรวดเร็ว ต้องอาศัยความคิดสร้างสรรค์
ความแข็งแกร่งของอุตสาหกรรมร่วมกัน โดยยึดหลัก “ประโยชน์ สามารถดึ ง ศั ก ยภาพของคนในองค์ ก รออกมาใช้ ไ ด้ อ ย่ า งมี
สูง ประหยัดสุด” ซึ่งแนวคิดนี้ถูกน�ำไปใช้ในอุตสาหกรรมต่างๆ ประสิทธิภาพ และไม่ยดึ ติดกับกฎเกณฑ์เดิมๆ ทีจ่ ำ� กัดจินตนาการ
ทั่วโลก (Cunningham, 2007) ของคนในองค์กร ยิง่ กว่านัน้ ความส�ำคัญของหน่วยงานทีส่ นับสนุน
การขับเคลื่อนงานวิจัย ไม่อาจที่จะถูกจ�ำกัดอยู่แค่หน้าที่ในการ

Executive Journal 27

aw ��������.indd 27 16/12/2010 10:11


สนับสนุนเชิงวิชาการและเชิงพาณิชย์ให้งานวิจยั เท่านัน้ แต่ควรเริม่ ลักษณะของหน่วยงานที่จะก้าวสู่ความเป็นเลิศในด้านนวัตกรรม
ตั้งแต่บ่มเพาะความคิดเชิงธุรกิจในระดับรากฐานให้กับผู้วิจัยผู้ และความคิดสร้างสรรค์
คิดค้นของหน่วยงาน และท�ำหน้าที่เป็นช่องทางในการสื่อสาร ผู้บริหารองค์กรแห่งความคิดสร้างสรรค์ต้องยึดหลัก
ระหว่างบุคคลภายนอก นักลงทุน และกลุ่มอุตสาหกรรมต่างๆ ธรรมาภิบาล และมีการบริหารงานอย่างเหมาะสมเพื่อให้การ
ทั้งในประเทศและต่างประเทศ ที่สนใจในการน�ำผลผลิตจากงาน ด�ำเนินงานเป็นไปได้อย่างรวดเร็ว ทันต่อการเปลี่ยนแปลงของ
วิจยั ไปต่อยอดเชิงพาณิชย์ เปรียบเสมือนเป็นตัวเชือ่ มต่อให้ Supply สภาพแวดล้อมในอนาคต ภายใต้แนวคิดในการช่วยเหลือและ
และ Demand ของผลงานนวัตกรรมภายในองค์กรมาเจอกัน โดย แนะน�ำผูร้ ว่ มงาน โดยเริม่ ต้นทีจ่ นิ ตนาการและตามด้วยการก�ำหนด
มุ่งเน้นเฉพาะงานที่สามารถน�ำมาใช้ประโยชน์ได้จริงเท่านั้น ทิศทางการบริหารจัดการร่วมกัน ให้โอกาสในการประดิษฐ์ การ
กล่าวโดยสรุป ขอบเขตความรับผิดชอบของหน่วยงานที่ คิด และการก�ำหนดทิศทางของการท�ำวิจัย หรือพัฒนานวัตกรรม
เกี่ ย วข้ อ งกั บ งานวิ จั ย หรื อ ที่ เ กี่ ย วข้ อ งกั บ กระบวนการสร้ า ง ด้วยตัวของผู้วิจัย ผู้ด�ำเนินงานเอง ยิ่งกว่านั้นผู้บริหารหน่วยงาน
นวัตกรรมในองค์กรแห่งความคิดสร้างสรรค์ ควรมีดังต่อไปนี้ ต้องด�ำรงบทบาทส�ำคัญทีจ่ ะน�ำหน่วยงานไปสูค่ วามเป็นเลิศ เพราะ
1. สร้างชุมชนแห่งนวัตกรรมและความคิดสร้างสรรค์ เปรียบเสมือนโค้ช หรือพี่เลี้ยงในการชี้ทางให้ผู้ร่วมงาน ผู้คิดค้น
(Built up The Community of Innovation & Creativity) ที่มีเป้า และผู้วิจัย ได้พบปะกับนักลงทุน นักธุรกิจ และสถาบันการเงิน ที่
หมายเดียวกัน บนพื้นฐานที่ให้อ�ำนาจในการตัดสินใจ ความเท่า สนใจในผลงานวิจยั หรือมีความต้องการค�ำตอบจากงานวิจยั ผูน้ ำ�
เทียมกัน ความโปร่งใส และการมีพันธกิจร่วมกัน โดยเน้นให้ หน่วยงานจึงต้องมีความรอบรูใ้ นเชิงวิชาการ ธุรกิจ และการบริหาร
บุคคลากรในชุมชนฯ มีจินตนาการ ความคิดสร้างสรรค์ และ มีวิสัยทัศน์ มีความสามารถ มีความรับผิดชอบ ซื่อสัตย์โปร่งใส
สามารถผลิตผลงานนวัตกรรมที่ก่อให้เกิดประโยชน์เชิงเศรษฐ- เอาใจใส่และทุ่มเทให้กับการท�ำงานอย่างจริงจัง อีกทั้งยังต้องมี
ศาสตร์ได้ ความสัมพันธ์ที่ดีกับสมาคมการค้าฯ กลุ่มอุตสาหกรรมฯ และ
2. เป็ น ช่ อ งทางในการสื่ อ สาร (Communication สถาบันการเงินต่างๆ ผู้บริหารในหน่วยงานฯ จึงจ�ำเป็นที่จะต้อง
Channel) ระหว่างผูส้ ร้างสรรค์นวัตกรรม ผูว้ จิ ยั ภายในองค์กร กับ เข้าใจการเปลี่ยนแปลงของสังคม เศรษฐกิจ วัฒนธรรม และมี
นักธุรกิจ นักลงทุน บริษัทภายนอก สภาอุตสาหกรรมฯ สมาคม ประสบการณ์ในการด�ำเนินงานภายใต้ความไม่แน่นอน เนื่องจาก
การค้าต่างๆ และหน่วยราชการทีเ่ กีย่ วข้อง รวมทัง้ เป็นตัวต่อเชือ่ ม โครงการใหม่ๆ ทีเ่ ป็นผลจากงานวิจยั และเป็นผลจากกระบวนการ
ให้กบั Supply และ Demand ของงานวิจยั หรือความคิดสร้างสรรค์ สร้างนวัตกรรมมักจะมีความเสีย่ งสูงและก�ำหนดกรอบเวลาในการ
มาเจอกัน สิ้นสุดโครงการได้ยาก ยิ่งกว่านั้นหน่วยงานวิจัยด้านนวัตกรรมที่
3. ชีช้ วนและชักจูง นักลงทุน สถาบันการเงิน รวมทัง้ หน่วย ต้องอาศัยจินตนาการและความคิดสร้างสรรค์ทมี่ คี วามเป็นเลิศนัน้
ธุรกิจทัง้ ภายในประเทศและต่างประเทศ ให้เข้ามาลงทุน สนับสนุน จะต้องมีสังคม บรรยากาศ และสิ่งแวดล้อมที่เอื้ออ�ำนวยให้เป็น
และใช้ความคิดสร้างสรรค์หรืองานวิจัยที่เกิดภายในองค์กร หน่วยงานแห่งการเรียนรู้และหน่วยงานแห่งความคิดเห็น มีความ
4. ดูแล ผลักดัน ให้เกิดโครงการลงทุนเชิงพาณิชย์เพื่อ พร้อมในด้านทรัพยากรต่างๆ เช่น เครื่องไม้เครื่องมือ เทคโนโลยี
สนับสนุนการสร้างสรรค์นวัตกรรมภายในองค์กรและลงทุนใน งบประมาณ และส�ำคัญทีส่ ดุ ทรัพยากรบุคคล (Hong and Sullivan,
โครงการเกิดใหม่ที่มีศักยภาพในเชิงธุรกิจ 2009) หน่วยงานฯ ยังจะต้องสามารถจัดการงานวิจัยได้เป็นอย่าง
5. ปลูกฝังให้ผู้วิจัย ผู้คิดค้น และบุคลากรภายในองค์กร ดี ทั้งในด้านการบริหารจัดการ การจัดการการเรียนรู้ และการ
มีความคิดเชิงธุรกิจ และสามารถสร้างธุรกิจจากผลงานวิจัยหรือ จัดการเชิงพาณิชย์ ท�ำให้ผู้ท�ำงานมีความสุข สนุกกับงาน มี
นวัตกรรมที่มาจากความคิดสร้างสรรค์เหล่านั้นได้ มาตรฐานสูงตามทีห่ น่วยงานฯ ต้องการและได้รบั การพัฒนาอย่าง
6. ส่งเสริมและสนับสนุนการเรียนรู้ของบุคลากรภายใน ต่อเนื่องครบถ้วนทุกด้าน เป็นคนดี คนเก่ง เป็นหน่วยงานฯ ที่
องค์กร สามารถจัดการงานวิจัยได้สนองสอดคล้องกับความต้องการของ
การที่จะพัฒนาหน่วยงานดังกล่าวให้มีความเป็นเลิศนั้น นักธุรกิจ นักลงทุน เป็นที่ชื่นชมของชุมชน และมีส่วนร่วมในการ
ต้องอาศัยปัจจัย องค์ประกอบ และกระบวนการต่างๆ หลาย พัฒนาสังคมแห่งการเรียนรู้ที่ไม่สิ้นสุด (ไพฑูรย์ และคณะ, 2550)
ประการ ซึ่งต่อไปนี้ คือ บทบาทและทิศทางในการด�ำเนินงานที่
ควรจะเป็นส�ำหรับองค์กรในยุคเศรษฐกิจฐานความรู้ เพื่อให้บรรลุ
วัตถุประสงค์ในการสร้างชุมชนแห่งความคิดสร้างสรรค์ โดยแยก
เป็นประเด็นต่างๆ ดังนี้

28 Executive Journal

aw ��������.indd 28 16/12/2010 10:11


การน�ำนวัตกรรมด้านการบริหารจัดการมาใช้สร้างชุมชนแห่ง รูปที่ 3 Types of Innovation
นวัตกรรมและความคิดสร้างสรรค์
ถึงแม้วา่ นวัตกรรมด้านการบริหารจัดการ (Management
Innovation) จะไม่สามารถสัมผัสได้เป็นรูปธรรมเหมือนสิง่ ประดิษฐ์
เชิงนวัตกรรมอื่น แต่นวัตกรรมด้านการบริหารจัดการจะสามารถ
ยกระดับความได้เปรียบในการแข่งขันขององค์กรในระยะยาว
เนือ่ งจากเป็นสิง่ ทีย่ ากทีจ่ ะลอกเลียนแบบ งานวิจยั และกระบวนการ
พัฒนานวัตกรรมที่ต้องการจินตนาการและความคิดสร้างสรรค์สูง
ก็เช่นกัน ถ้าผู้คิดค้นผู้ท�ำวิจัยได้มีโอกาสสัมผัสการท�ำงานจริง ได้ ที่มา: ดัดแปลงจาก Hamel (2007)
เห็นสิ่งแวดล้อมจริงของอุตสาหกรรมภายนอกช่วงระยะเวลาหนึ่ง
และได้มีโอกาสเปลี่ยนบรรยากาศในการท�ำงาน ทั้งนี้อาจจะด้วย นวัตกรรมขัน้ ถัดมา คือ นวัตกรรมด้านกลยุทธ์ (Strategic
ความร่วมมือระหว่างอุตสาหกรรมและองค์กรผู้วิจัย แทนที่ผู้วิจัย Innovation) องค์กรต่างๆ ต้องมีแบบอย่างทางธุรกิจ (Business
จะคิดแก้ปัญหางานวิจัยอยู่แต่ภายในองค์กรเพียงอย่างเดียว Model) ที่ท�ำให้ได้เปรียบคู่แข่งขันและลดข้อเสียเปรียบของจุด
นวัตกรรมของการบริหารจัดการเช่นนี้จะมีส่วนช่วยอย่างมากใน อ่อนของตน แบบอย่างทางธุรกิจที่ประสบความส�ำเร็จขององค์กร
การกระตุ้นให้ผลงานวิจัยออกมาได้ตรงกับความต้องการของ อาจจะถู ก ลอกเลี ย นแบบและถู ก ตอบโต้ ไ ด้ ง ่ า ย ไม่ เ หมื อ น
อุ ต สาหกรรม สามารถตอบโจทย์ ไ ด้ แ ละยั ง ช่ ว ยเสริ ม สร้ า ง นวัตกรรมด้านการบริหารจัดการ (Hamel, 2007) ทีม่ ลี กั ษณะเฉพาะ
จินตนาการของผูท้ ำ� วิจยั อีกด้วย ดังนัน้ ถ้าองค์กรให้เครือ่ งมือ ความ ตัวต้องใช้เวลาในการปลูกฝังให้อยู่ในองค์กรจนกลายเป็นจุดแข็ง
รู้และการฝึกอบรมที่เหมาะสม ผู้วิจัยผู้คิดค้นเหล่านั้นก็จะกลาย หลักที่ฝังรากลึก (Core Competency) ขององค์กรและสามารถ
เป็นนักแก้ปัญหา นักคิด นักประดิษฐ์และในที่สุดจะกลายเป็น สร้ า งสรรค์ ค วามได้ เ ปรี ย บในการแข่ ง ขั น (Competitive
ตัวแทนที่น�ำไปสู่การเปลี่ยนแปลงครั้งใหญ่ขององค์กร Advantage) และความแตกต่างที่ยากต่อการลอกเลียนแบบได้
สิง่ เหล่านีเ้ ป็นการยากส�ำหรับคูแ่ ข่งทีจ่ ะลอกเลียนแบบ ถ้า (Differentiate)
องค์กรสามารถน�ำนวัตกรรมด้านการบริหารจัดการมาใช้ได้อย่าง ผู้น�ำองค์กรแห่งความคิดสร้างสรรค์ควรจะพยายามส่ง
เป็นระบบและต่อเนื่อง จนในที่สุดสามารถปลูกฝังแนวทางการ เสริมให้ผู้วิจัย ผู้คิดค้น ผู้ร่วมงานทุกคนที่เกี่ยวข้อง มีส่วนร่วมใน
บริหารจัดการทีก่ ระตุน้ ให้เกิดนวัตกรรมใหม่ ลงไปในทุกๆ อณูของ การก�ำหนดตัวแบบเชิงธุรกิจและการวางแผนเชิงกลยุทธ์ขององค์กร
หน่วยงาน (Howkins, 2002) องค์กรแห่งความคิดสร้างสรรค์นั้นก็ รวมทั้งท�ำให้ผู้ร่วมงานรู้สึกว่านวัตกรรมและการสร้างสรรค์ความ
จะสามารถก้าวสู่ความเป็นเลิศในระดับโลกได้อย่างไม่ยาก ด้วย คิดผ่านองค์ความรู้ที่ได้จากงานวิจัย เป็นหน้าที่และความรับผิด
เหตุผลที่องค์กรควรเน้นนวัตกรรมด้านการบริหารจัดการที่จะ ชอบของทุกคน ยิง่ กว่านัน้ ผูน้ ำ� องค์กรควรจะเปิดโอกาสให้ทกุ คนมี
สามารถสร้างความได้เปรียบในระยะยาวได้และไม่ควรหยุดอยู่แค่ ส่วนร่วมในการแสดงความคิดเห็นอย่างเป็นอิสระและสามารถ
ที่กระบวนการสร้างสรรค์นวัตกรรมพื้นฐานด้านการปฏิบัติการ ก�ำหนดทิศทางการบริหารงานวิจัย งานสร้างสรรค์ได้ด้วยตัวเอง
(Process Innovation) หรือ นวัตกรรมด้านผลิตภัณฑ์และการ ภายใต้โครงสร้างองค์กรแบบเครือข่ายและแบบราบที่สุด วิธีการ
บริการ (Product/Service Innovation) เนื่องจากนวัตกรรมด้าน บริหารรูปแบบนีจ้ ะท�ำให้ลดระยะเวลาในการสร้างนวัตกรรมใหม่ๆ
การปฏิบัติการนั้นความเป็นเลิศมักขึ้นอยู่กับการไหลเวียนของ (Economy of Speed) เนื่องจากมีการไหลเวียนของข้อมูลภายใน
ข้ อ มู ล ในองค์ ก รและระบบโครงสร้ า งพื้ น ฐานด้ า นเทคโนโลยี องค์กรเป็นไปอย่างรวดเร็ว และมีการตัดสินใจโดยทีท่ กุ คนยอมรับ
สารสนเทศจึงไม่สามารถสร้างความได้เปรียบที่มั่นคงได้ ส่วน และมีส่วนร่วม
นวัตกรรมด้านผลิตภัณฑ์และการบริการนัน้ ปัจจุบนั วงจรชีวติ ของ สิง่ เหล่านีจ้ ะเกิดขึน้ ได้กต็ อ่ เมือ่ ผูน้ ำ� องค์กรสามารถท�ำลาย
ผลิตภัณฑ์สั้นลงอย่างมาก นวัตกรรมด้านนี้จึงไม่สามารถท�ำให้ อุปสรรคขัดขวางการเกิดความคิดสร้างสรรค์ ที่มาจากแรงฉุดรั้ง
องค์กรเป็นผู้น�ำในระยะยาว ของแนวคิดแบบเก่าและสามารถสร้างบรรยากาศในการคิด การ
เรียนรู้ จนในที่สุดสามารถผลักดันให้ผู้วิจัยสร้างสรรค์นวัตกรรม
ใหม่ๆ ที่ตรงกับความต้องการของสังคมและอุตสาหกรรมได้

Executive Journal 29

aw ��������.indd 29 16/12/2010 10:11


รูปที่ 4 ปัจจัยหลัก 3 ข้อสู่ความส�ำเร็จในแนวคิดการรวมกลุ่มธุรกิจ
(Cluster Concept) บรรณานุกรม

ไพฑูรย์ สินลารัตน์ และคณะ. 2550, สัตตศิลา: หลักเจ็ด


ประการส�ำหรับการเปลีย่ นผ่านการศึกษาเข้าสูย่ คุ เศรษฐกิจ
ฐานความรู้ (พิมพ์ครั้งที่ 2), กรุงเทพมหานคร,
โครงการวิจัยบูรณาการ: การเปลี่ยนผ่านการศึกษาเข้าสู่
ยุคเศรษฐกิจฐานความรู้, คณะครุศาสตร์ จุฬาลงกรณ์
มหาวิทยาลัย.
อาคม เติมพิทยาไพสิฐ. 2551. The 10th National Economic
and Social Development Plan and Creative
Economy. กรุงเทพมหานคร. Presented at NECTEC
อนาคตของชุมชนแห่งนวัตกรรมและความคิดสร้างสรรค์ Annual Conference & Exhibition 2008.
เมื่อมีการจัดรูปแบบโครงสร้างองค์กร ก�ำหนดแผนการ Cunningham, S. 2007. Creative industries as policy and
ด� ำ เนิ น งานและได้ เ ริ่ ม มี ก ารเผยแพร่ แ นวคิ ด ของชุ ม ชนแห่ ง discourse outside the United Kingdom. Global
นวัตกรรมและความคิดสร้างสรรค์ภายในองค์กรแล้ว สิ่งส�ำคัญ Media and Communication. Vol. 3. No. 3. 347-352.
ล�ำดับแรกที่ต้องปลูกฝังให้อยู่ในสายเลือดของบุคลากรที่เกี่ยวข้อง Hamel, G. 2007. The Future of Management. Harvard
ทั้งหมด คือ ความคิดริเริ่มในการด�ำเนินธุรกิจและแนวคิดที่ว่า Business Press.
นวัตกรรมเป็นงานของทุกคนเพื่อให้ชุมชนฯ มีความเข้าใจตรงกัน Hong, H.Y. and Sullivan, F.R. 2009. Towards an idea-
และมีเป้าหมายเดียวกัน เมื่อชุมชนฯ ภายในองค์กรมีความพร้อม centered, principle-based design approach to
แนวคิดในการสร้างชุมชนฯ ขององค์กรก็จะถูกกระจายออกไปสู่ support learning as knowledge creation. Education
กลุม่ อุตสาหกรรมเป้าหมายและนักลงทุน จนในทีส่ ดุ จะมีการชักจูง Tech Research Dev. Vol. 57. 613-627.
ชีแ้ จงถึงผลประโยชน์ทจี่ ะได้รบั ร่วมกันและพยายามให้เกิดการรวม Howkins J. 2002. The Creative Economy: How People
กลุ่มกันของอุตสาหกรรม หรือธุรกิจที่อยู่ในคลัสเตอร์เดียวกันทั้ง Make Money from Ideas. Penguin Global.
แนวตัง้ และแนวนอน (Vertical & Horizontal Clusters) ตัง้ แต่ตน้ น�ำ้
จนถึงปลายน�้ำ สุดท้ายก็จะมีการลงทุนของธุรกิจใหม่ให้เห็นเป็น
รูปธรรมในพื้นที่บริเวณเดียวกันของอุตสาหกรรมเกี่ยวเนื่อง ตั้งแต่
การวิจัย การออกแบบ การผลิตวัตถุดิบ โรงงานผู้ผลิต ผู้ขนส่ง
จนถึงผู้ขาย บนปรัชญาพื้นฐานเริ่มต้นที่ทุกธุรกิจสามารถใช้องค์
ความรู้ร่วมกัน การรวมตัวกันเป็นกลุ่มธุรกิจหรือคลัสเตอร์นั้นจะ
ท�ำให้เกิดกระบวนการสร้างการเรียนรู้ การแลกเปลี่ยนข้อมูล
ข่าวสาร การแลกเปลี่ยนเทคโนโลยี รวมถึงการแลกเปลี่ยน
ประสบการณ์ระหว่างกัน และยังช่วยลดต้นทุนต่างๆ ในห่วงโซ่
อุปทาน อันจะน�ำไปสูศ่ กั ยภาพในการสร้างนวัตกรรมและการผลิต
ร่วมกัน ท�ำให้ธุรกิจมีความสามารถในการแข่งขันสูงขึ้นและ
สามารถสร้างความแตกต่างที่ท�ำให้เติบโตได้อย่างยั่งยืน โดยมี
ชุมชนแห่งนวัตกรรมและความคิดสร้างสรรค์เป็นผู้จุดประกายให้
เกิดความส�ำเร็จดังกล่าว

30 Executive Journal

aw ��������.indd 30 16/12/2010 10:11

You might also like